โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางศิริพร วัฑฒนายน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2)
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-1-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L7885-1-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับต้นๆของคนไทย โรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ส่วนมาก จะเกิดในสตรีมากกว่าบุรุษ เนื่องจากอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรีมีความซับซ้อนมะเร็งปากมดลูกพบมากใน กลุ่มอายุ 30-70 ปี และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของสตรีไทย ซึ่งจะส่งผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย และสมาชิกในครอบครัว รองลงมาคือมะเร็งเต้านม ซึ่งโรคมะเร็งทั้ง 2 ชนิดเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งของ การแก้ปัญหาสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่
จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาของ สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทยพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 4,600 คนต่อปี หรือทุกๆ 2 ชั่วโมง จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเต้านม สำหรับเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส พบว่าหญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมาย อายุ30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมเพียง ร้อยละ 20.30 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 ดังนั้น การให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งดำเนินการ ซึ่งรวมไปถึงความพร้อม และศักยภาพในการให้บริการในระดับต่าง ๆ ของสถานบริการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์จึงได้จัดทำ “โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก” ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 ขึ้น เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการในระยะเริ่มแรกและสามารถให้การรักษาได้อย่างทันเวลา เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดอัตราการตายและส่งเสริมสุขภาพป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70ปี มีความรู้ความสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน ร้อยละ 80
3.ตรวจพบมะเร็งมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายในระยะเริ่มแรก
4.อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ความสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง
5.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนมีพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม
6.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามมาตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
วันที่ 7 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับ อสม. ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าว ให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกณ. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2
- ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ30 ปี ขึ้นไป ในชุมชนที่รับผิดชอบ 7 ชุมชน
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกณ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 และ ในชุมชน 7 ชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30 ปี ขึ้นไป ในชุมชนที่รับผิดชอบ 7 ชุมชน
-จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก ณ ศสม.ยะกัง 2 และในชุมชน 7 ชุมชน
57
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.มีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและได้รับการสอนตรวจด้วยตนเอง รวมทั้งสิ้น 1958 ราย จากจำนวนประชากร 2156 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.52 พบว่า
- ผลปกติ 1955 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.56
- ผลผิดปกติ 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.14 ได้ส่งต่อรพ.นราธิวาสฯ เพื่อพบแพทย์
2.มีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก รวมทั้งสิ้น 118 ราย จากจำนวนประชากร 1736 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.8 พบว่า
- ผลปกติ 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.28
- ผลผิดปกติ 28 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.72 (ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองมะเร็งเต้านมกลุ่มเป้าหมายได้ ร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-1-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศิริพร วัฑฒนายน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางศิริพร วัฑฒนายน
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-1-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L7885-1-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับต้นๆของคนไทย โรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ส่วนมาก จะเกิดในสตรีมากกว่าบุรุษ เนื่องจากอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรีมีความซับซ้อนมะเร็งปากมดลูกพบมากใน กลุ่มอายุ 30-70 ปี และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของสตรีไทย ซึ่งจะส่งผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย และสมาชิกในครอบครัว รองลงมาคือมะเร็งเต้านม ซึ่งโรคมะเร็งทั้ง 2 ชนิดเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งของ การแก้ปัญหาสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาของ สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทยพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 4,600 คนต่อปี หรือทุกๆ 2 ชั่วโมง จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งเต้านม สำหรับเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส พบว่าหญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมาย อายุ30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมเพียง ร้อยละ 20.30 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 ดังนั้น การให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่งดำเนินการ ซึ่งรวมไปถึงความพร้อม และศักยภาพในการให้บริการในระดับต่าง ๆ ของสถานบริการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์จึงได้จัดทำ “โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก” ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง 2 ขึ้น เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการในระยะเริ่มแรกและสามารถให้การรักษาได้อย่างทันเวลา เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดอัตราการตายและส่งเสริมสุขภาพป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70ปี มีความรู้ความสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน ร้อยละ 80 3.ตรวจพบมะเร็งมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายในระยะเริ่มแรก 4.อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ความสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง 5.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ที่ถูกต้อง ตลอดจนมีพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งเต้านม 6.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามมาตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30 ปี ขึ้นไป ในชุมชนที่รับผิดชอบ 7 ชุมชน -จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก ณ ศสม.ยะกัง 2 และในชุมชน 7 ชุมชน
|
57 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.มีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและได้รับการสอนตรวจด้วยตนเอง รวมทั้งสิ้น 1958 ราย จากจำนวนประชากร 2156 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.52 พบว่า - ผลปกติ 1955 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.56 - ผลผิดปกติ 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.14 ได้ส่งต่อรพ.นราธิวาสฯ เพื่อพบแพทย์ 2.มีผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก รวมทั้งสิ้น 118 ราย จากจำนวนประชากร 1736 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.8 พบว่า - ผลปกติ 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.28 - ผลผิดปกติ 28 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.72 (ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองมะเร็งเต้านมกลุ่มเป้าหมายได้ ร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้าหาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายในระระเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมทบทวนฟื้นฟูความรู้ให้กับอสม.ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม และเทคนิคการพูดโน้มน้าวให้กลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (ศสม.ยะกัง 2) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-1-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศิริพร วัฑฒนายน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......