กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง ได้จัดโครงการอบรมพัฒนาแกนนำด้านสุขภาพ ในวันที่ 14 มิถุนายน 2560 โดยมีแกนนำสุขภาพเข้ารับการอบรมทั้งสิ้นจำนวน 60 คน ผลที่เกิดขึ้นคือ นักเรียนแกนนำได้เห็นคุณค่าของการมีสุขภาพที่ดี รู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง และสามารถดูแลตรวจสุขภาพของเพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือในโรงเรียนได้ สามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ สามารถกำจัดเหาโดยใช้สมุนไพรจากธรรมชาติได้ ซึ่งเปนประโยชน์อย่างยิ่งต่อการลดปัยหาด้านสุขภาพอนามัย และยังแบ่งเบาภาระครู อาจารย์ ในการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน อีกทั้งนักเรียนยังมีจิตสำนึกในการพึ่งพาตนเองในการตรวจสุขภาพและปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างที่ดีด้านการดูแลสุขภาพตนเองดีขึ้น และสามารถนำความรู้ความสามารถไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในกลุ่มเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และเพื่อนบ้านในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคมือเท้าปากแก่นักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่ (วันครู 2503)
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้จักวิธีป้องกันตนเองจากการติดเชื้อและสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ถูกต้องได้
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็ก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคมือเท้าปากแก่นักเรียนโรงเรียนบ้านใหม่ (วันครู 2503) (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้จักวิธีป้องกันตนเองจากการติดเชื้อและสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ถูกต้องได้ (3) 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh