กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ภาวะโรคอ้วน เป็นปัยหาที่เพิ่มจำนวนมากขึ้นในปัจจุบัน เป็นเหตุให้สุขภาพร่างกายอ่อนแอลง และยังเป็นสาเหตุหลักของโรคภัยต่างๆ มากมาย หากไม่ได้รับการส่งเสริมและให้ความตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย อย่างถูกต้องก็จะกลายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ดังนั้นจึงเป็นปัญหาที่ทุกคนควรให้ความสำคัญ เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีและสามารถดูแลตนเองได้ ลดภาวะพึ่งพิงผู้อื่นให้น้อยที่สุด โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อให้ประชาชาชนทั่วไป อายุตั้งแต่ 15 ขึ้นไป ที่มีค่า BMI และรอบเอวเกิน ได้รับการแก้ไข 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจหลักการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. เพื่อรณรงค์ ส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อติดตามผลและแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับกลุ่มที่ค่า BMI ไม่ลด กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไป อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่มีค่า BMI และรอบเอวเกิน 100 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ดดยใช้แบบประเมินความรู้ แบบประเมินความพึงพอใจ คู่มืในการบันทึกสุขภาพ การฝึกปฏิบัติ การสังเกต และการติดตามผล นำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ

ผลการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสำคัญ และประโยชน์ของการออกกำลังกาย และเรียนรู้วิธีการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี เพิ่มขึ้นหลังเข้ารับการอบรมมากกว่าร้อยละ 85 และผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ มีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น วัดได้จากค่าดัชนีมวลกาย และเส้นรอบเอว โดยค่าดัชนีมวลกาย และเส้นรอบเอว ของผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าลดลง คิดเป็นร้อยละ 74.00 และกรณีที่ค่าดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอวไม่ลด แต่หลังจากได้รับการแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ ส่วนใหญ่ มีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นจ โดยค่าดัชนีมวลกายและเส้นรอบเอว มีค่าลดลง ร้อยละ 80.00 ที่สำคัยพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการนี้ในระดับมากที่สุด ถึงร้อยละ 92.00

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ