กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
45.00 50.00 50.00

 

 

จำนวนเด็กและเด็กวัยรุ่นอายุ5-17ปี มีผลผลิตสนใจในกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ5 จากร้อยละ45

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
45.00 50.00 50.00

 

 

ผู้ใหญ่อายุ18-64ปีที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอจากเดิมร้อยละ45 ผลผลิตได้ร้อยละ50 เพิ่มขึ้นร้อยละ5

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
45.00 50.00 50.00

 

 

ผู้สูงอายุ65 ปีขึ้นไปที่มีกิจกรรมทางกายจากเดิมร้อยละ45 ผลผลิตได้ร้อยละ50 เพิ่มขึ้นร้อยละ5

4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
45.00 50.00 50.00

 

 

มีการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนจากเดิมร้อยละ45 ผลผลิตได้ร้อยละ50 เพิ่มขึ้นร้อยละ5