กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว ”
ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา มากเพ็ง




ชื่อโครงการ ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว

ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง คือผู้สูบบุหรี่เองและทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสองทั้งที่ประไทยมีการรณรงค์การควบคุมการบริโภคยาสูบเกิดขึ้นต่อเนื่อง ตั้งแต่ พ.ศ. 2517 แต่ในปี พ.ศ. 2551 บุหรี่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า 5 ล้านคน ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรค โรคเอดส์ และไข้มาลาเรียรวมกัน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น 8 ล้านคนต่อปี โดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูงบุหรี่ ได้แก่ มะเร็งปวด ที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทย อีกทั้ง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงานของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจการสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก และหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจเต้นผิดปกติ และได้มีการประมาณการทุกครั้งที่มีผู้สูบบุหรี่เสียชีวิตครบ 8 ราย จะมีผู้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมจะมีโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงกว่าคนที่ไม่เคยได้รับ 1.3 เท่า และจะมีโอกาสเกิดโรคมะเร็งปอดได้มากขึ้นประมาณ 1.8 เท่า โดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่ จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็ก หากมารดาครรภ์สูบบุหรี่ จะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูง เช่น ทารกน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนด เด็หากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไตวาย ปอดอับเสพติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป   สำนักงานสถิติแห่งชาติได้สำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ปี 2557 พบว่า จำนวนประชากรมีอายุ ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป 54.8 ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน (ร้อยละ 20.7) เป็นผู้สูบบุหรี่ประจำ 10 ล้านคน (ร้อยละ 18.2) สูบนานๆครั้ง 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 2.5) ในวัยทำงาน (25-59ปี) มีอัตราการสูบสูงสุด (ร้อยละ 23.5) รองลงมากลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน (15-24 ปี) (ร้อยละ 16.6 และ14.7 ตามลำดับ) ผู้ชายสูบมากกว่าผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ40.5 และ 22 ตามลำดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่าเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบเพิ่มสูงขึ้นและทุกกลุ่มมีอายุเฉลี่ยน้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน 15.24 ปีเริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยลงค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่น จึงต้องมีมาตรการเฝ้าระวังในกลุ่มเยาวชนมากขึ้น และในประเทศไทยมีคนเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่คิดเป็น 12 % ของคนตายทั้งหมด รัฐบาลสูญเสียทางเศรษฐกิจกับค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่ถึง 43.6 ล้านบาท ถ้ายังไม่มีมาตรการใดๆในการป้องกันและเฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ อีกทั้งบุหรี่เป็นเพียงสินค้าชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย แต่เป็นอันตรายต่อทุกคนทั้งที่เป็นผู้สูบบุหรี่และไม่สูบบุหรี่ จึงมีความจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้ ลดละ เลิก การสูบบุหรี่ โดยยึดหลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งการดูแลเสริมสร้างสุขภาพการแนะนำให้มาบำบัด จัดระบบเฝ้าระวังไม่ให้กลับมาเสพซำ้ โดยการสร้างแรงจูงใจการตระหนักถึงปัญหาร่วมกันให้คำปรึกษา ติดตาม ดูแล และการให้ความรู้แก่ประชาชนสามารถนำไปปฏิบัติจริง โดยเฉพาะการป้องกันที่ดีโดยการสร้างการตระหนัก จูงใจประชาชนเลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพดี ของตนเองและบุคคลรอบข้าง ควบคู่กับการรณรงค์การใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว จึงจัดทำโครงการชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว ปี 2561 ขึ้น เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ และลดจำนวนนักสูบหน้าเก่า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครู/แกนนำเยาวชนความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษพิษภัยของบุหรี่สุราเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
  2. เพื่อสร้างขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  3. เพื่อติดตามสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สุรา และการบังคับใช้กฎหมาย
  4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่บุคคลที่ ลด ละ เลิดบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เครือข่ายครู/แกนนำเยาวชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักสูบหน้าใหม่และนักสูบหน้าเก่าลดลง
  2. เกิดเครือข่ายภาคประชาชนเพื่อร่วมดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในหมู่บ้าน/ชุมชน
  3. ร้านค้า ปั๊มน้ำมัน และสถานที่สาธารณะไม่มีการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวันสำคัญทางศาสนา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เครือข่ายครู/แกนนำเยาวชน

วันที่ 25 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและชี้แจงรายละเอียดโครงการ
  2. ประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบระดับตำบล
  3. อบรมให้ความรู้เครือข่ายครู/แกนนำเยาวชนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษ พิษภัยของบุหรี่ สุรา รู้เท่าทันกลยุทธ์ของอุตสาหกรรมยาสูบ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  4. อสม. ผู้นำท้องที่ท้องถิ่น ร่วมประชาสัมพันธ์เผยแพร่สื่อสาร ถึงกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ควบคุมยาสูบเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  5. เฝ้าระวังสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สุรา และการบังคับใช้กฎหมายตามร้านค้า และปั๊มน้ำมัน
  6. กรรมการฯ บังคับใช้กฎหมายลงพื้นที่ตรวจเตือนและประชาสัมพันธ์แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องให้กับร้านค้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่สุราผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100
  2. มีโรงเรียนต้นแบบด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านหนองบัว 3.ร้านค้า/ปั๊มน้ำมัน กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมยาสูบและควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 100
  3. มีบุคคลต้นแบบลด ละเลิก บุหรี่ จำนวน 1 คน คือ นายเกียรติ  ไข่เขียว
  4. มีผู้สมัครเข้าร่วมกิจกรรม ลดละเลิกบุหรี่ จำนวน 21 คน เลิกได้ 1 เดือน จำนวน 11 คน เลิกได้ 3 เดือน จำนวน 8 คน เลิกได้ 6 เดือน จำนวน 2 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครู/แกนนำเยาวชนความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษพิษภัยของบุหรี่สุราเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : ครูและแกนนำเยาวชน จำนวน 50 คน
0.00

 

2 เพื่อสร้างขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
0.00

 

3 เพื่อติดตามสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สุรา และการบังคับใช้กฎหมาย
ตัวชี้วัด : ร้านค้า ปั๊มน้ำมัน และสถานที่สาธารณะ
0.00

 

4 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่บุคคลที่ ลด ละ เลิดบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู/แกนนำเยาวชนความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษพิษภัยของบุหรี่สุราเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ (2) เพื่อสร้างขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (3) เพื่อติดตามสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สุรา และการบังคับใช้กฎหมาย (4) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่บุคคลที่ ลด ละ เลิดบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เครือข่ายครู/แกนนำเยาวชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนต้นแบบควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลหนองบัว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสา มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด