กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
รณรงค์ติดป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ต.ค. 2560 26 พ.ค. 2561

 

  1. เก็บรวบรวมข้อมูลเด็กจมน้ำในชุมชน
  2. สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยู่ในชุมชน
  3. จัดประชุมชี้แจงแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วกัน
  4. ดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำตามแผนที่กำหนดไว้ 4.1 กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ติดป้ายประชาชนสัมพันธ์การป้องกันเด็กจมน้ำในชุมชนและการติดป้ายคำเตือนและอุปกรณ์ลอยน้ำได้บริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง

 

  1. ในช่วงเวลาปี 2559-2561 ไม่มีการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 จากการจมน้ำ

 

การให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในชุมชน การสอนการปฐมพยาบาลให้แก่ประชาชน 20 ก.ค. 2561 20 ก.ค. 2561

 

  1. เก็บรวบรวมข้อมูลเด็กจมน้ำในชุมชน
  2. สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยู่ในชุมชน
  3. จัดประชุมชี้แจงแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วกัน
  4. ดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำตามแผนที่กำหนดไว้ 4.1 กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ติดป้ายประชาชนสัมพันธ์การป้องกันเด็กจมน้ำในชุมชนและการติดป้ายคำเตือนและอุปกรณ์ลอยน้ำได้บริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง 4.2 กิจกรรมที่ 2 การให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในชุมชน การสอนการปฐมพยาบาล/CPR ให้แก่ประชาชน

 

ร้อยละ 88.06 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการป้องกันการจมน้ำในชุมชน

 

การอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในเด็กและประชาชน 22 ก.ค. 2561 22 ก.ค. 2561

 

  1. เก็บรวบรวมข้อมูลเด็กจมน้ำในชุมชน
  2. สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยู่ในชุมชน
  3. จัดประชุมชี้แจงแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วกัน
  4. ดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำตามแผนที่กำหนดไว้ 4.1 กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ติดป้ายประชาชนสัมพันธ์การป้องกันเด็กจมน้ำในชุมชนและการติดป้ายคำเตือนและอุปกรณ์ลอยน้ำได้บริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง 4.2 กิจกรรมที่ 2 การให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในชุมชน การสอนการปฐมพยาบาล/CPR ให้แก่ประชาชน 4.3 การอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในเด็กและประชาชน
  5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
  6. สรุปผลการดำเนินงานและนำผลที่ได้ไปใช้ปรับปรุงแก้ไขแผนการดำเนินงานในปี

 

  1. ร้อยละ 82.91 ของผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะที่ถูกต้องในการป้องกันการจมน้ำ
  2. ร้อยละ 40.16 ของปัจจัยเสี่ยงต่อการจมน้ำลดลง