โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวคูซัยบะห์ ดือราแมง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2990-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2990-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยแม้จะยังอยู่ในช่วงของการได้เปรียบทางประชากร คือ มีวัยแรงงาน (15-59 ปี) ซึ่งเป็นวัยที่ก่อให้เกิดผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ และมีส่วนสำคัญต่อฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ในสัดส่วนที่สูงกว่าวัยอื่นๆ (ร้อยละ 67) แต่อีกไม่กี่ปีข้างหน้าคนวัยทำงานนี้จะค่อยๆ ลดลงจากอัตราการเกิดที่ลดลง และการก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างเต็มตัว การเตรียมพร้อมเพื่อการเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งตัวเองให้ได้มากที่สุด และเป็นภาระต่อสังคมน้อยที่สุด ถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะกับกลุ่มวัยทำงานที่จะก้าวเข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุนั้น ต้องตระหนักและให้ความสำคัญอย่างมาก ข้อมูลจากการสำรวจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบประเด็นน่าสนใจในเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของคนวัยทำงาน โดยเริ่มต้นจากการบริโภคอาหาร ที่ถือเป็นพฤติกรรมเสี่ยงอย่างแรกที่ถูกละเลยโดยไม่สนใจว่าในแต่ละวันได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ หรือครบ 3 มื้อหลักหรือไม่โดยพบว่าคนในวัยทำงานมีการบริโภคอาหารหลักครบทั้ง 3 มื้อ น้อยกว่าวัยอื่นๆ อย่างชัดเจน นอกจากนี้คนวัยทำงานยังออกกำลังกายน้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด แม้จะมีการรณรงค์ให้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกันอย่างต่อเนื่องก็ตาม แต่ก็ยังพบว่าคนวัยทำงานเพียง 1 ใน 5 เท่านั้นที่ออกกำลังกายคนวัยทำงานยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพด้วยการดื่มสุราและสูบบหรี่ แม้จะรู้ถึงโทษและพิษภัยว่าส่งผลเสียต่อสุขภาพ แต่ก็ยังเลือกที่จะดื่มสุราและสูบบุหรี่ ซึ่งข้อมูลจากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา พบว่าวัยทำงานดื่มสุราและสูบบุหรี่มากกว่าวัยอื่นอย่างชัดเจน ประเทศไทยนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 14.5 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้นซึ่งทั้งสองกลุ่มวัยนี้หากได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพด้วยการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น จะเป็นการป้องกันโรคที่มีความรุนแรงโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่นโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดมีการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมจะเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการให้การดูแลสุขภาพทั้งสองกลุ่มวัยทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รักษาไม่หาย ภาวการณ์พึ่งพา การดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว อีกทั้งแนวโน้มเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆก็จะลดน้อยลง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงานวัยผู้สูงอายุตำบลควนประจำปี 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
960
กลุ่มผู้สูงอายุ
492
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนที่มีอายุ๓๕ ปีขึ้นไปและผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน/ตรวจคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้นและกลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนลดน้อยลงผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่เป็นภาระพึงพาของลูกหลาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ร้อยละ 63.29 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.กลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลให้อยู่ตามมาตรฐานได้ร้อยละ 72.15
3.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพร้อยละ 93.12
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 960 คน
2.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวาน จำนวน 330 คน
3.ประชาชนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 492 คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1782
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
960
กลุ่มผู้สูงอายุ
492
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2990-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวคูซัยบะห์ ดือราแมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวคูซัยบะห์ ดือราแมง
กันยายน 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2990-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2990-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยแม้จะยังอยู่ในช่วงของการได้เปรียบทางประชากร คือ มีวัยแรงงาน (15-59 ปี) ซึ่งเป็นวัยที่ก่อให้เกิดผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ และมีส่วนสำคัญต่อฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ในสัดส่วนที่สูงกว่าวัยอื่นๆ (ร้อยละ 67) แต่อีกไม่กี่ปีข้างหน้าคนวัยทำงานนี้จะค่อยๆ ลดลงจากอัตราการเกิดที่ลดลง และการก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างเต็มตัว การเตรียมพร้อมเพื่อการเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งตัวเองให้ได้มากที่สุด และเป็นภาระต่อสังคมน้อยที่สุด ถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะกับกลุ่มวัยทำงานที่จะก้าวเข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุนั้น ต้องตระหนักและให้ความสำคัญอย่างมาก ข้อมูลจากการสำรวจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบประเด็นน่าสนใจในเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของคนวัยทำงาน โดยเริ่มต้นจากการบริโภคอาหาร ที่ถือเป็นพฤติกรรมเสี่ยงอย่างแรกที่ถูกละเลยโดยไม่สนใจว่าในแต่ละวันได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ หรือครบ 3 มื้อหลักหรือไม่โดยพบว่าคนในวัยทำงานมีการบริโภคอาหารหลักครบทั้ง 3 มื้อ น้อยกว่าวัยอื่นๆ อย่างชัดเจน นอกจากนี้คนวัยทำงานยังออกกำลังกายน้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด แม้จะมีการรณรงค์ให้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกันอย่างต่อเนื่องก็ตาม แต่ก็ยังพบว่าคนวัยทำงานเพียง 1 ใน 5 เท่านั้นที่ออกกำลังกายคนวัยทำงานยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพด้วยการดื่มสุราและสูบบหรี่ แม้จะรู้ถึงโทษและพิษภัยว่าส่งผลเสียต่อสุขภาพ แต่ก็ยังเลือกที่จะดื่มสุราและสูบบุหรี่ ซึ่งข้อมูลจากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา พบว่าวัยทำงานดื่มสุราและสูบบุหรี่มากกว่าวัยอื่นอย่างชัดเจน ประเทศไทยนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 14.5 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้นซึ่งทั้งสองกลุ่มวัยนี้หากได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพด้วยการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น จะเป็นการป้องกันโรคที่มีความรุนแรงโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่นโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดมีการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมจะเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการให้การดูแลสุขภาพทั้งสองกลุ่มวัยทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รักษาไม่หาย ภาวการณ์พึ่งพา การดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว อีกทั้งแนวโน้มเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆก็จะลดน้อยลง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงานวัยผู้สูงอายุตำบลควนประจำปี 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง 4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 960 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 492 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 330 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนที่มีอายุ๓๕ ปีขึ้นไปและผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน/ตรวจคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้นและกลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อนลดน้อยลงผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่เป็นภาระพึงพาของลูกหลาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ร้อยละ 63.29 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลให้อยู่ตามมาตรฐานได้ร้อยละ 72.15 3.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพร้อยละ 93.12
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 960 คน 2.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวาน จำนวน 330 คน 3.ประชาชนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 492 คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1782 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 960 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 492 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 330 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.พื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง 4.เพื่อให้ผู้อายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สุงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตวัยทำงาน วัยผู้สูงอายุตำบลควน ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2990-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวคูซัยบะห์ ดือราแมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......