กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติเข้าใจและตระหนักถึงบทบาทของพ่อแม่ในการเลี้ยงดูลูกอย่างมีความสุขและมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ - หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐
0.00

 

2 ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติมีความรู้ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจขณะตั้งครรภ์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ - หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐
0.00

 

3 ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดและรู้จักการปฏิบัติตนระยะใกล้คลอดทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ - หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐
0.00

 

4 ๔. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างถูกวิธีและสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า ๖ เดือน มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว มากกว่าร้อยละ ๖๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติเข้าใจและตระหนักถึงบทบาทของพ่อแม่ในการเลี้ยงดูลูกอย่างมีความสุขและมีคุณภาพ (2) ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติมีความรู้ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจขณะตั้งครรภ์และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง (3) ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดและรู้จักการปฏิบัติตนระยะใกล้คลอดทั้งด้านร่างกายและจิตใจ (4) ๔. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างถูกวิธีและสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖  เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมที่ ๒ จัดเตรียมแผนการสอนพร้อมทั้งสื่อการสอนโรงเรียนพ่อแม่ ๑ และโรงเรียนพ่อแม่ (3) กิจกรรมที่ ๓ จัดกิจกรรมอบรมโรงเรียนพ่อแม่แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติเดือนละครั้งแยกตามแผนการสอนโรงเรียนพ่อแม่ ๑ อายุครรภ์น้อยกว่า ๒๘ สัปดาห์ และ โรงเรียนพ่อแม่ ๒ อายุครรภ์มากกว่า ๒๘ สัปดาห์ (4) กิจกรรมที่ ๔  สรุปวิเคราะห์และประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh