โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ ”
ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ
ที่อยู่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่ส้รางความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาดดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชนพบว่าปัยหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลดุซงญอ เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรงไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชาชนแสนคน ในปี 2558 - 2559 เท่ากับ 137.12 และ 73.83 ต่อประชาชนแสนคนตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตาย จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม - กันายน ของทุกปี ซึงตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึางพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างตาอเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัยหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการดำเนินงานป้อกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมาสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการ แต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโณคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่1-4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
- 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา
- 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก
- 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
6,695
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
2.ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
3.ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
5. หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมพ่นหมอกควันในหมู่บ้าน
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.จัดประชุมตัวแทนเพื่อระดมความคิดผู้เกี่ยวข้องได้แก่อสม.,ครู,นายก อบต. ดุซงญอ, สมาชิก อบต. ดุซงญอ,ผู้นำศาสนาของทุกหมู่บ้าน,แกนนำหมู่บ้าน, กลุ่มสตรีและปลัดตำบลดุซงญอมาร่วมรับรู้ปัญหาร่วมกันร่วมวางแผนกิจกรรมร่วมปฏิบัติและประเมินผล
2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ
3. จัดกิจกรรมรณรงค์คว่ำกะลา กระป๋องภาชนะแตกหักที่อาจกักเก็บน้ำได้ควรได้รับการกำจัดทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ในหมู่บ้านและโรงเรียนเป้าหมายเช่น
-โอ่งน้ำ ใช้วิธีปิดฝาให้มิดชิด
-อ่างบัวใช้วิธีใส่ปลากินลูกน้ำ
-ยางรถยนต์เก่าใช้วิธีปกปิด หรือดัดแปลงให้น้ำขังไม่ได้
-แจกัน ใช้วิธีเปลี่ยนน้ำทุก ๗ วัน
-จานรองกระถางต้นไม้ใช้วิธีใส่ทรายธรรมดาให้ลึก 3 ใน 4ส่วนของจาน
-จานรองขาตู้กับข้าว ใช้วิธีเติมน้ำเดือดทุก ๗ วัน
4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยใช้รถประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและที่มัสยิด
5. จัดกิจกรรมรณรงค์โดยเน้นความร่วมมือของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกศุกร์ของสัปดาห์
6. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคนชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำศาสนาเพื่อสร้างองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนโดยการอบรมแบบมีส่วนร่วมในกลุ่มอสม.,แกนนำชุมชนและผู้นำศาสนา
7. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกให้แกนนำนักเรียน
8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับอสม. ก่อนออกปฏิบัติในพื้นที่เพื่อรงณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกให้แก่ประชาชน
9. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยในชุมชนในเขตรับผิดชอบ
6,695
6,695
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดประชุมตัวแทนเพื่อระดมความคิดผู้เกี่ยวข้องได้แก่ อสม., ครู, นายก อบต. ดุซงญอ, สมาชิก อบต. ดุซงญอ, ผู้นำศาสนาของทุกหมู่บ้าน, แกนนำหมู่บ้าน, กลุ่มสตรี และปลัดตำบลดุซงญอ มาร่วมรับรู้ปัญหาร่วมกัน ร่วมวางแผนกิจกรรม ร่วมปฏิบัติและประเมินผล
2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ
3. จัดกิจกรรมรณรงค์คว่ำกะลา กระป๋อง ภาชนะแตกหักที่อาจกักเก็บน้ำได้ควรได้รับการกำจัดทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ในหมู่บ้านและโรงเรียนเป้าหมาย เช่น
- โอ่งน้ำ ใช้วิธีปิดฝาให้มิดชิด
- อ่างบัว ใช้วิธีใส่ปลากินลูกน้ำ
- ยางรถยนต์เก่า ใช้วิธีปกปิด หรือดัดแปลงให้น้ำขังไม่ได้
- แจกัน ใช้วิธีเปลี่ยนน้ำทุก ๗ วัน
- จานรองกระถางต้นไม้ ใช้วิธีใส่ทรายธรรมดาให้ลึก 3 ใน 4 ส่วนของจาน
- จานรองขาตู้กับข้าว ใช้วิธีเติมน้ำเดือดทุก ๗ วัน
4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยใช้รถประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและที่มัสยิด
5. จัดกิจกรรมรณรงค์ โดยเน้นความร่วมมือของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกศุกร์ของสัปดาห์
6. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคน ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำศาสนา เพื่อสร้างองค์กรชุมชนให้เข้มแข็ง มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชน โดยการอบรมแบบมีส่วนร่วมในกลุ่ม อสม., แกนนำชุมชน และผู้นำศาสนา
7. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกให้แกนนำนักเรียน
8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับอสม. ก่อนออกปฏิบัติในพื้นที่เพื่อรงณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกให้แก่ประชาชน
9. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยในชุมชนในเขตรับผิดชอบ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
2
2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
ตัวชี้วัด : 2.ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
3
3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3.ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
4
4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา
ตัวชี้วัด : 4.ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
5
5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 5.หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
6
6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
6695
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
6,695
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา (5) 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก (6) 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ ”
ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่ส้รางความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาดดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชนพบว่าปัยหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลดุซงญอ เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรงไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชาชนแสนคน ในปี 2558 - 2559 เท่ากับ 137.12 และ 73.83 ต่อประชาชนแสนคนตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตาย จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม - กันายน ของทุกปี ซึงตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึางพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างตาอเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัยหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการดำเนินงานป้อกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมาสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการ แต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโณคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่1-4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
- 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา
- 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก
- 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 6,695 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
2.ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
3.ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
5. หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมพ่นหมอกควันในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.จัดประชุมตัวแทนเพื่อระดมความคิดผู้เกี่ยวข้องได้แก่อสม.,ครู,นายก อบต. ดุซงญอ, สมาชิก อบต. ดุซงญอ,ผู้นำศาสนาของทุกหมู่บ้าน,แกนนำหมู่บ้าน, กลุ่มสตรีและปลัดตำบลดุซงญอมาร่วมรับรู้ปัญหาร่วมกันร่วมวางแผนกิจกรรมร่วมปฏิบัติและประเมินผล 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ 3. จัดกิจกรรมรณรงค์คว่ำกะลา กระป๋องภาชนะแตกหักที่อาจกักเก็บน้ำได้ควรได้รับการกำจัดทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ในหมู่บ้านและโรงเรียนเป้าหมายเช่น -โอ่งน้ำ ใช้วิธีปิดฝาให้มิดชิด -อ่างบัวใช้วิธีใส่ปลากินลูกน้ำ -ยางรถยนต์เก่าใช้วิธีปกปิด หรือดัดแปลงให้น้ำขังไม่ได้ -แจกัน ใช้วิธีเปลี่ยนน้ำทุก ๗ วัน -จานรองกระถางต้นไม้ใช้วิธีใส่ทรายธรรมดาให้ลึก 3 ใน 4ส่วนของจาน -จานรองขาตู้กับข้าว ใช้วิธีเติมน้ำเดือดทุก ๗ วัน 4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยใช้รถประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและที่มัสยิด 5. จัดกิจกรรมรณรงค์โดยเน้นความร่วมมือของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกศุกร์ของสัปดาห์ 6. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคนชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุขผู้นำศาสนาเพื่อสร้างองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนโดยการอบรมแบบมีส่วนร่วมในกลุ่มอสม.,แกนนำชุมชนและผู้นำศาสนา 7. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกให้แกนนำนักเรียน 8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับอสม. ก่อนออกปฏิบัติในพื้นที่เพื่อรงณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกให้แก่ประชาชน 9. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยในชุมชนในเขตรับผิดชอบ
|
6,695 | 6,695 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดประชุมตัวแทนเพื่อระดมความคิดผู้เกี่ยวข้องได้แก่ อสม., ครู, นายก อบต. ดุซงญอ, สมาชิก อบต. ดุซงญอ, ผู้นำศาสนาของทุกหมู่บ้าน, แกนนำหมู่บ้าน, กลุ่มสตรี และปลัดตำบลดุซงญอ มาร่วมรับรู้ปัญหาร่วมกัน ร่วมวางแผนกิจกรรม ร่วมปฏิบัติและประเมินผล 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ 3. จัดกิจกรรมรณรงค์คว่ำกะลา กระป๋อง ภาชนะแตกหักที่อาจกักเก็บน้ำได้ควรได้รับการกำจัดทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ในหมู่บ้านและโรงเรียนเป้าหมาย เช่น - โอ่งน้ำ ใช้วิธีปิดฝาให้มิดชิด - อ่างบัว ใช้วิธีใส่ปลากินลูกน้ำ - ยางรถยนต์เก่า ใช้วิธีปกปิด หรือดัดแปลงให้น้ำขังไม่ได้ - แจกัน ใช้วิธีเปลี่ยนน้ำทุก ๗ วัน - จานรองกระถางต้นไม้ ใช้วิธีใส่ทรายธรรมดาให้ลึก 3 ใน 4 ส่วนของจาน - จานรองขาตู้กับข้าว ใช้วิธีเติมน้ำเดือดทุก ๗ วัน 4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยใช้รถประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและที่มัสยิด 5. จัดกิจกรรมรณรงค์ โดยเน้นความร่วมมือของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกศุกร์ของสัปดาห์ 6. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคน ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำศาสนา เพื่อสร้างองค์กรชุมชนให้เข้มแข็ง มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชน โดยการอบรมแบบมีส่วนร่วมในกลุ่ม อสม., แกนนำชุมชน และผู้นำศาสนา 7. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกให้แกนนำนักเรียน 8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับอสม. ก่อนออกปฏิบัติในพื้นที่เพื่อรงณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกให้แก่ประชาชน 9. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยในชุมชนในเขตรับผิดชอบ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ ตัวชี้วัด : 2.ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก |
|
|||
3 | 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 3.ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก |
|
|||
4 | 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา ตัวชี้วัด : 4.ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง |
|
|||
5 | 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 5.หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ |
|
|||
6 | 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 6695 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 6,695 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา (5) 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก (6) 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......