กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการคัดกรองเบาหวาน 1 กลุ่มปกติจำนวน 46 คน ร้อยละ 76.67
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 9 คน ร้อยละ 15 3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 0 คน ร้อยละ 0
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 2 คน ร้อยละ 3.33
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3 คน ร้อยละ 5 ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง 1 กลุ่มปกติ 41 คน ร้อยละ 68.33 2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) จำนวน 11 คน ร้อยละ 18.33 3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) จำนวน 3 คน ร้อยละ 5 4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) จำนวน 1 คน ร้อยละ 1.67 5 กลุ่มป่วย 3 คน ร้อยละ 5 6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM  1 คน ร้อยละ 1.67

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญ กับกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวทางกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย
90.00 50.00

 

2 เพื่อปลูกฝังการออกกำลังกายให้กับเด็ก และเยาวชนใน พื้นที่ให้มีใจรักการเล่นกีฬาหรือการเคลื่อนไหวทางกาย อย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ขึ้นไปประชาชนในพื้นที่มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละไม่น้อยกว่า 30 นาที
60.00 50.00

 

3 เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่คณะของสมาชิกชมรมหรือ กลุ่มเยาวชน ประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : การเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิกชมรม กลุ่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญ
    กับกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวทางกาย (2) เพื่อปลูกฝังการออกกำลังกายให้กับเด็ก และเยาวชนใน     พื้นที่ให้มีใจรักการเล่นกีฬาหรือการเคลื่อนไหวทางกาย     อย่างสม่ำเสมอ (3) เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่คณะของสมาชิกชมรมหรือ          กลุ่มเยาวชน ประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็น เช่น เต้นเข้าจังหวะ ปั่นจักรยาน วิ่ง ฯลฯ (2) จัดเวทีพูดคุยเรื่องสุขภาพ การประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา่/อสม. และแกนนำเยาวชนในพื้นที่ จำรนวน 3 ครั้ง (3) ตรวจคัดกรองโรคความดัน เบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh