กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดประชุม อสม.และองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
  2. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ และแผ่นพับโรงมาลาเรีย
  3. ออกหน่วยแพทย์ให้บริการรักษาพยาบาลเบื้องต้นและเจาะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดยหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ฯ และ อสม.
  4. ทำการพ่อนเคมีฆ่ายุงก้นปล่องที่เป็นสาเหตุให้เกิดไข้มาลาเรีย
  5. สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงกัด
  6. อสม. ดำเนินกิจกรรมป้องกันการระบาดของโรคในหมู่บ้านเป้าหมาย
  7. สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดส่งรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง

 

2 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
ตัวชี้วัด : 2.มีการประสานงานระหว่างองค์กรภาครัฐ, ชุมชนและในการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรีย ส่งผลให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่

 

3 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : 3.ประชาชนมีความรู้และเข้าใจในการป้องกันโรคมาลาเรีย

 

4 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย
ตัวชี้วัด :

 

5 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3337
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,337
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี (3) 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (4) 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย (5) 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh