กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ ๑ งานภาคประชาชน
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน ๙๐ คน x ๔ ครั้ง คือ ๒๓ เม.ย. ๖๑ , ๒ พ.ค.๖๑, ๒๐ มิ.ย.๖๑ และวันที่ ๒๓ ก.ค. ๖๑ กิจกรรมที่ ๒ งานอนามัยแม่และเด็ก ๒.๑ การคัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน - คณะทำงาน ติดตามเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน ๑๐ คน x ๖ วัน คือ วันที่ ๗ มิ.ย. ๖๑ , ๒๙ มิ.ย. ๖๑ ,๕ ก.ค.๖๑ ,๑๒ ก.ค. ๖๑ , ๓ ส.ค. ๖๑ และวันที่ ๑๗ ส.ค. ๖๑ ๒.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มารดาที่มีบุตรน้ำหนักน้อยแจกนมจืดเด็กที่มีน้ำหนักน้อย ๓๐ คน x ๙๐ วัน เดือนละ 1 ครั้ง 3 เดือน คือ วันที่ ๑๐ ก.ค.๖๑ , ๑๐ ส.ค.๖๑ และวันที่๑๔ กันยายน๖๑ ๒.๓ กิจกรรมรวมพลครอบครัวนมแม่ ๘๐ คน คือวันที่ ๙ ส.ค.๖๑ ๒.๔ จัดสื่อการเรียนรู้ – สื่อพัฒนาการในคลินิกสุขภาพเด็กดี (ตามเกณฑ์คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ) กิจกรรมที่ ๓ งานวัยเรียน/วัยรุ่น ๓.๑ ในโรงเรียน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู นักเรียนโรงเรียนศิริพงศ์ การป้องกันและเฝ้าระวังตั้งครรภ์วัยเรียน ๑๐๐ คน คือ วันที่๑๕ ส.ค.๖๑ กิจกรรมที่ ๔ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๔.๑ การคัดกรองสุขภาพและการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓๐ คน x ๒๐ วัน คือ วันที่ ๑-๒๐ ก.ค.๖๑ ๔.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน
คือ ๓๐ คน x ๖ ชุมชน คือ วันที่ ๒๕, ๒๖, ๓๑ ก.ค.๖๑ และ ๑, ๒, ๓ ส.ค.๖๑ ๔.๓ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ คือ ๔๐ คน x ๓ ครั้ง คือ วันที่ ๑๖ ก.ค.๖๑, ๑๕ ส.ค.๖๑, ๑๔ ก.ย.๖๑ ๔.๔ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง ๔๐ คน x ๓ ครั้ง คือ วันที่ ๑๙ มิ.ย.๖๑, ๑๗ ก.ค.๖๑, ๑๔ ส.ค.๖๑ ๔.๕ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต ๒๐ คน x ๖ ครั้ง คือ วันที่ ๒๒, ๒๙ มิ.ย.๖๑, วันที่ ๑๓, ๒๐ ก.ค.๖๑ และวันที่ ๓, ๑๐ ส.ค.๖๑ ๔.๖ กิจกรรมจัดฐานเรียนรู้ ๕ สี บอกวิถีโรคแทรกซ้อน ๘๐ คน คือ วันที่ ๒ ส.ค.๖๑ ๔.๗ กิจกรรมการเฝ้าระวังประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง ๑๒ คน x ๖ วัน คือ วันที่ ๖-๑๑ ส.ค.๖๑ ๔.๘ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง ๔๐ คน x ๒ ครั้ง คือ วันที่ ๑๖, ๓๐ ส.ค.๖๑ กิจกรรมที่ ๕ งานคุ้มครองผู้บริโภค กิจกรรมการตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ ๖ คน x ๕ วัน วันที่ ๕ ก.ค. ๖๑ , ๑๙ ก.ค. ๖๑ ,๒ ส.ค.๖๑ , ๙ ส.ค. ๖๑ และวันที่ ๒๓ ส.ค. ๖๑ กิจกรรมที่ ๖ กลุ่มผู้พิการ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย กิจกรรมอบรมดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายpcu.กุโบร์ร่วมกับ pcu.พาณิชย์ pcuละ ๒๐ คน คือ วันที่ ๒๐ ส.ค.๖๑

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ60 มารดาตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก 2.ร้อยละ60 มารดาตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน5 ครั้ง 3.ร้อยละ90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 4.ร้อยละ93 ของเด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5.ร้อยละ90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ
0.00 74.00

 

2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7.ร้อยละ5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 8.ร้อยละ90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค 9.ร้อยละ5 ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ 10.ร้อยละ80 ของผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ
0.00 63.67

 

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 11.ร้อยละ80 หญิงอายุ 30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 12.ร้อยละ20 หญิงอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 13.ร้อยละของการตั้งครรภ์หญิงอายุ 15 -19 ปีน้อยกว่า ร้อยละ 20 14.ร้อยละ80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT 15.ร้อยละ85 ของผู้ป่วยวัณโรคที่รักษาหาย
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 363
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 163
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3.  เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง  ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh