กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1 ประชุมคณะทำงานตำบลสำนักขาม 1 เม.ย. 2561 1 พ.ค. 2560

 

๑. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการฯ ๒. จัดทำคำสั่งพร้อมแต่งตั้งคณะทำงานโครงการประชารัฐร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายฯ
๓. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสำนักขาม เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ ๔. จัดประชุมคณะทำงาน วางแผนการดำเนินงานและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโรงเรียน โรงงาน ชุมชนรพ.สต. และอื่นๆ
๕. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัคร(อสม.) และภาคีเครือข่าย ผู้เกี่ยวข้องฯ ๖. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน ๗. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายชุมชนละ 1 ครั้ง

 

1.เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม 3.เพื่่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน มัสยิด 4.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลาบแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.เพื่อกรุะตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกัน

 

2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมโรค 1 พ.ค. 2561 26 มิ.ย. 2562

 

รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) โดยวิธี 1.รณรงค์เคาะประตูบ้านในชุมชนร่วมโรงเรียน พร้อมร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชนและโรงเรียนโดยการเก็บขยะ คว่ำภาชนะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม     1.1 จัดทำป้ายแจ้งเตือนสถานะจากการสำรวจลูกน้ำบริเวณชุมชนต่างๆที่มีการสำรวจ (ธงเขียว =ปกติ /เหลือง=เฝ้าระวัง/แดง=อันตราย)
    1.2 ใช้สารเคมีใส่สารเคมีทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และโรงเรียน โดยอสม. และพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เกิดโรคทันทีเมื่อมีการระบาด 2. ทางชีวภาพส่งเสริมความรู้ให้แกนนำประจำครอบครัวในชุมชนเกี่ยวการปลูกพืชไล่ยุงเช่นตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูง 3. แกนนำประจำครอบครัวสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตัวเองทุกสัปดาห์
4. ติดตามและประเมินความพึงพอใจการดำเนินกิจกรรม 5. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

 

๑. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 10 ๒.ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก ๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน มัสยิด โรงเรียน โรงงานให้น้อยลง