กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจภาวะสุขภาพและสามารถดูแลตนเองได้ทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ การประเมินADL ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ การประเมินADL ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคและลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จากการประเมินตามแบบสอบถามผู้สูงอายุไม่มีปัญหาและอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ90
0.00

 

4 ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ การประเมินADL ร้อยละ 90
0.00

 

5 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ การประเมินADL ร้อยละ 90
0.00

 

6 เพื่ออบรมแกนนำผู้สูงอายุด้านสุขภาพ -แกนนำผู้สูงอายุ หมู่บ้านละ 5 ท่าน -ผู้สูงอายุที่เข้าอบรมพื้นที่รับผิดชอบ 75 ท่าน
ตัวชี้วัด : แกนนำผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดแก่ผู้สูงอายุในชุมชนได้ร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจภาวะสุขภาพและสามารถดูแลตนเองได้ทั้งร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง (3) เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคและลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มผู้สูงอายุ (4) ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์ (5) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ (6) เพื่ออบรมแกนนำผู้สูงอายุด้านสุขภาพ -แกนนำผู้สูงอายุ หมู่บ้านละ 5 ท่าน -ผู้สูงอายุที่เข้าอบรมพื้นที่รับผิดชอบ 75 ท่าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คณะกรรมการร่วมกันประชุมวางแผนเพื่อรวบรวมข้อมูลในการดำเนินการ (2) ประชุม กลุ่มผู้นำผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ อสม (3) จัดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้แบบคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน กรมอนามัยตามกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่660 คน (4) จัดอบรมแกนนำผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุที่สุขภาพดีจำนวน 80 คนมาให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุในเรื่อง -การตรวจฟันผู้สูงอายุ -อาหารสำหรับผู้สูงอายุ -การใช้ยาในผู้สูงอายุ -การคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุที่เป็นเรื้อรัง 5 โรค -การออกกำ (5) สรุปผลการคัดกรองในผู้สูงอายุ -ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อรักษาต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh