กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561

โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 256128 กันยายน 2561
28
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1ตรวจสุขภาพและช่องปากแก่เด็กก่อนวัยเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 2ให้บริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ในรายที่มีปัญหาโรคฟันน้ำนมผุ 3ประเมินคุณภาพหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART 4ให้บริการเคลือบฟลูออไรด์วานิช 3 เดือน/ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑. ผลการดำเนินงาน ได้เริ่มดำเนินโครงการ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ในสถานศึกษาของรัฐ ๓ แห่ง คือ
๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากคลอง จำนวน ๔๒ คน ๒. โรงเรียนบ้านควนหนองยาง จำนวน ๒๐ คน
๓. โรงเรียนบ้านไทรบ่วง  จำนวน ๔๓ คน
รวมเด็กก่อนวัยเรียน ๑๐๕ คน ตั้งแต่  พฤษาคม ๒๕๖๑ ถึง กันยายน ๒๕๖๑ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๑.๑ เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนในสถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง ๔๒ ๔๒ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง ๒๐ ๒๐ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ รวม ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ ๙๘ ของเด็กก่อนวัยเรียน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการสนับสนุน ให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดีผล ปรากฏว่า กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๐๕ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน ๑๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค กลุ่มเป้าหมายไม่มาในวันที่ทำการตรวจ แนวทางการแก้ไข ติดต่อประสานครูผู้ดูแลเข้าไปตรวจในวันที่เด็กมา โรงเรียน ๑.๒ เพื่อลดการเกิดฟันผุลุกลามในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง (๔๒คน) ๑๘ ๘ ๔๔ รร.บ้านควนหนองยาง (๒๐ คน) ๖ ๔ ๖๖ รร.บ้านไทรบ่วง (๔๓คน) ๒๘ ๑๐ ๓๖ รวม ๕๒ ๒๒ ๔๒ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ  ๗๐ ของเด็กที่มีปัญหาโรคฟันผุ ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART อย่างน้อย ๑ ซี่/คน ปรากฏว่า  กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๕๒ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน  ๒๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๒ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค เด็กกลัวการทำฟันและอ้าปากนานๆไม่ไหว แนวทางการแก้ไข ใช้เวลาในการค่อยพูดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติให้เด็กๆลดความกลัวและใช้เวลาในการทำให้เร็วขึ้นและเลือกอุดซี่แต่ใช้เวลาไม่นาน แนะนำให้เข้ารับบริการอย่างต่อเนื่องที่ รพ.สต.หนองปรือ
๑.๓ เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนเวลาอันควร สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง (๔๒คน) ๘ ๘ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง (๒๐ คน) ๔ ๔ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง (๔๓คน) ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ รวม ๒๒ ๒๒ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ  ๓๐ ของเด็กที่ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ได้รับการตรวจเช็คสภาพการคงอยู่ในระยะเวลา ๖ เดือน ปรากฏว่า  กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๒๒ คน ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART มีวัสดุอุดอยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค ระยะเวลาในการตรวจเช็ค นาน เกินช่วงระยะเวลาชองการดำเนินโครงการที่กำหนดไว้ แนวทางการแก้ไข เลื่อนเวลาในการตรวจเช็ค เป็น ๓ เดือน/ครั้ง ๑ รอบ และกำหนดตรวจเช็คช่วงเวลา ๖ เดือน อีก ๑ ครั้งใน เดือนธันวาคม ๑.๔ เพื่อให้กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนได้รับฟลูออไรด์ ป้องกันฟันผุอย่างทั่วถึง
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง ๔๒ ๔๒ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง ๒๐ ๒๐ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ รวม ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ ๙๕ ของเด็กก่อนวัยเรียน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ ปรากฏว่า กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๐๕ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน ๑๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค กลุ่มเป้าหมายไม่มาในวันที่ทำกิจกรรม แนวทางการแก้ไข ติดต่อประสานครูผู้ดูแลเข้าไปกิจกรรมในวันที่เด็กมา โรงเรียน ๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๒.๑ การบรรลุตามวัตถุประสงค์   บรรลุตามวัตถุประสงค์ •  ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
๒.๒ จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ ๑๐๕ คน ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๑๙,๑๔๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๑๙,๑๔๐ บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ   - บาท  คิดเป็นร้อยละ
๔. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน   ไม่มี •  มี ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ) ............................................................................................................. แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ..........................................................................................................