กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องได้
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง หลังการอบรม มากกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

2 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
0.00

 

3 3 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ15–19ปี
ตัวชี้วัด : -ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15 – 19 ปี ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

4 4 เพื่อสร้างขวัญและให้กำลังใจแก่หญิงตั้งครรภ์และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 115
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องได้ (2) 2  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้ง  ตามเกณฑ์  ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์และได้คลอดในโรงพยาบาล (3) 3 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ15–19ปี (4) 4 เพื่อสร้างขวัญและให้กำลังใจแก่หญิงตั้งครรภ์และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์  พร้อมทั้งสร้างแกนนำนมแม่ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปี (2) 2.กิจกรรม สำรวจค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนเพื่อส่งต่อให้รับการฝากครรภ์ทันที ก่อน 12 สัปดาห์                  โดยอสม. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ  ติดตามเยี่ยมขณะตั้งครรภ์ เพื่อดูแลเรื่องการรับประทานยา  การรับประทานอาหารเสริมธาตุเหล็ก และการปฏิบัติตัว  พร้อ (3) 3.กิจกรรมเสริมสร้างทักษะความรู้ตามหลักสูตร โรงเรียนพ่อแม่ (4) 4.กิจกรรมประกวดหนูน้อยนมแม่ใน รพ.สต. และแม่ตัวอย่างที่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh