กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนโรงเรียนวัดกระดังงารักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด ตลอดจนสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนโรงเรียนวัดกระดังงา ชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คน มีความรู้ ความเ่ข้าใจ การหลีกเลี่ยง การป้องกันจากภัยร้ายของยาเสพติดตลอดจนสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพของตนเองและคนรอบข้าง
0.00

 

2 2.เพื่อฝึกฝนทักษะต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับเยาวชน หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสิ่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อนการรู้จักปฏิเสธ)และการป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด
ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนโรงเรียนวัดกระดังงา ชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คน มีทักษะต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับเยาวชน หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสิ่่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อนการรู้จักปฏิเสธ)และป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างความตระหนักกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ครู โรงเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯลฯ เฝ้าระวังดูแลพฤติกรรมนักเรียนให้ปลอดภัยจากสิ่งเสพติดภัยของยาเสพติดในระดับสถานศึกษา ทั้งเป็นการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมด้วย
ตัวชี้วัด : 3.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความตระหนักและช่วยเฝ้าระวังดูแลพฤติกรรมนักเรียนให้ปลอดภัยจากสิ่งเสพติดภัยของยาเสพติด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนโรงเรียนวัดกระดังงารักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด ตลอดจนสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง (2) 2.เพื่อฝึกฝนทักษะต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับเยาวชน หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสิ่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อนการรู้จักปฏิเสธ)และการป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด (3) 3.เพื่อสร้างความตระหนักกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ครู โรงเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯลฯ เฝ้าระวังดูแลพฤติกรรมนักเรียนให้ปลอดภัยจากสิ่งเสพติดภัยของยาเสพติดในระดับสถานศึกษา ทั้งเป็นการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับยาเสพติด (2) เดินรณรงค์ในหมู่บ้าน ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh