กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการบูรณาการเสริมสร้างสุขภาพและคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมประชุมงานภาคประชาชน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไข ปัญหา จำนวน 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 13.00-16.00 น. ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 13.00-16.00 น. ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 13.00-16.00 น. ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 11 กันยายม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 13.00-16.00 น.
  2. กิจกรรมการคัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน เด็กอายุ 0-6ปี โดย อสม. เยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน จำนวน 6 ครั้ง ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2561 ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561 ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2561 ติดตามเยี่ยมครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2561
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ผู้ปกครอง เรื่อง "แนวทางแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก" กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 พ่อแม่ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูลูกอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยวิทยากร แพทย์หญิงจีราบัตร เตชะโต ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสงขลา พร้อมทั้งได้มอบนมจืด ให้กับเด็กที่มีภาวะน้ำหนักน้อยจำนวน 30 คนในวันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 13.00-16.00 น.
  4. กิจกรรมรวมพลครอบครัวนมแม่ จัดกิจกรรมในวันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-14.00 น. กลุ่มเป้าหมายจำนวน 80 คน และติดตามครอบครัวเด็กนมแม่ทุก 1 เดือน ต่อเนื่องครบ 6 เดือน
  5. กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดี ตามเกณฑ์คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ โดยการจัดซื้อจัดจ้างสื่อการเรียนรู้-พัฒนาการเด็ก และได้รับการส่งมอบ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 และได้รับการประเมินคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดีจากทีมประเมิน ผลคะแนนได้สูงสุดในระดับดีเด่น
  6. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู นักเรียนโรงเรียนวชิรานุกูล การป้องกันและเฝ้าระวังตั้งครรภ์วัยเรียนจำนวน 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ได้ดำเนินกิจกรรมในวันที่ 28 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโรงเรียนวชิรานุกูล เวลา 8.30-16.30 น. กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 120 คน รุ่นที่ 2 ดำเนินกิจกรรมในวันที่ 3 สิงหาคม 2651 ณ ห้องประชุมโรงเรียนวชิรานุกูล เวลา 8.30-16.30 น กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 120 คน
  7. กิจกรรมการคัดกรองสุขภาพและการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม. ลงคัดกรองโรคเบาหวาน ความดัน ในชุมชน ครั้งที่ 1 วันที่ 28, 29 ส.ค. 61, ครั้งที่ 2 วันที่ 3, 4, 5, 6, 7 ก.ย. 61, ครั้งที่ 3 วันที่ 11, 12, 13, 14 ก.ย. 61, ครั้งที่ 4 วันที่ 17, 18, 19, 20 ก.ย. 61, ครั้งที่ 5 วันที่ 25, 26, 27, 28 ก.ย. 61 รวมจำนวนทั้งสิ้น 20 วัน
  8. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน ดำเนินการ จำนวน 7ครั้งครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2561 ชุมชนบาลาเซ๊าะห์ กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิราซอยคี่ และชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 30 คน ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนพิเศษ ตชด. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน
    ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนพิเศษทหารเรือ กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
    ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิราซอยคู่ กลุ่มเป้าหมาย 30 คน ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 24 สิงหารคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้งและชุมชนหลังรพ.จิตเวช กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 30 คน ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิราทะเลหลวง กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน
  9. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 8.30-12.00 น. ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 8.30-12.00 น. ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 11 กันยายม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลา เวลา 8.30-12.00 น. ผู้เข้าร่วมจำนวน 40 คน 10.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายครั้งละ 40 คน ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง และชุมชนวชิรา 11.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต จัดกิจกรรมรวมจำนวน 6 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายครั้งละ 20 คน
    ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิราและชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 12 กรกฏาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 19 กรกฏาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิราและชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง+บาลาเซาะห์+หลังจิตเวช ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนวชิรา 12.กิจกรรมจัดฐานเรียนรู้ 5 สี บอกวิถีโรคแทรกซ้อน ดำเนินการในวันที่ 31 กรกฏาคม 2561 เวลา 7.00-14.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา กลุ่มเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 80 คน 13.กิจกรรมการเฝ้าระวังประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง ดำเนินกิจกรรมในชุมชุน โดยการสอบถามตามแบบเฝ้าระวังคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก (ชุดย่อ ฉบับภาษาไทย) มี 26 ข้อคำถาม ข้อคำถามที่มีความหมายทางบวก 23 ข้อ และข้อคำถามที่มี ความหมายทางลบ 3 ข้อ คือข้อ 2, 9, และ11 จำนวน 6 ครั้ง ดำเนินการในเดือนกันยายน 2561
    14.กิจกรรมค้นหาเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ จำนวน 5 ครั้ง ดำเนินการในเดือนกันยายน 2561 15.กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ จำนวน 5 วัน โดยลงประเมินร้านอาหาร ครั้งที่ 1 ในวันที่ 14 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-14.00 น ณ ชุมชนเก้าเส้ง,
    ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00 - 14.00 น. ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00 - 14.00 น. ณ ชุมชนวชิรา ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00 - 14.00 น. ณ ชุมชนวชิรา ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2561 เวลา 8.00-14.00 น. ณ ชุมชนวชิรา 16.รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 10 ชุมชน กลุ่มเป้าหมายรวม 250 คน ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2561 ณ ชุมชนวชิราซอยคึ่ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2561 ณ ชุมชนวชิราทะเลหลวง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนพิเศษ ตชด. ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนพิเศษทหารเรือ ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนเก้าเส้ง ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนหลัง รพ.จิตเวชฯ ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนบาลาเซาะห์ ครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2561 ณ ชุมชนวชิราซอยคู่ ครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2561 ณ ชุมชนสนามบิน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 90 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า 1.2 ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับข้อมูลความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง 1.3 ร้อยละ 90 มีความพึงพอใจในระบบบริการของบุคลากร
0.00 90.00

1.ร้อยละ 90 (จำนวน 108 คนไม่มีโรคแทรกซ้อนเพิ่ม)

2 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยกิจกรรม DPAC 2.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
0.00 100.00

 

3 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพเป็นรูปธรรม อย่างน้อย 1 ชุมชน 3.2ร้อยละ 90 ของสมาชิกมีการเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม
0.00 95.80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1080 1080
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 800 800
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh