กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาละ โทร.0-7320-5645 ที่ ยล. 74705/      วันที่    กรกฎาคม  2561 เรื่อง  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน.........................................................................................................................................................................................................

เรียน  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ
1. เรื่องเดิม ตามที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ขออนุมัติเบิกจ่ายเงินโครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ บาละ เป็นเงิน 24,766 บาท นั้น 2. ข้อเท็จจริง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการจัดโครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ” ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีการค่าใช้จ่ายจริง 24,766 บาท (ตามเอกสารที่แนบด้วย) 3. ข้อระเบียบ/ข้อกฎหมาย ระเบียบกระทรวงหมาดไทย ว่าด้วยการเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและ การตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547
4. ข้อเสนอแนะ/พิจารณา ในการนี้  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชนกองทุน พร้อมกันนี้ได้แนบเอกสารประกอบผลการดำเนิน โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดำเนินการต่อไป (นางกัญญาภัค  ยอดเมฆ)   ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ความเห็นของรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ..........................................................................................................................................................................

(นางสาวนันทิดา  ไชยลาภ) รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

ความเห็นของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ      ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

                            (นายพล    หนูทอง)                         นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ รายงานผลการดำเนินงาน 1.ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ”
ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ. ศูนย์เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตร ม.5 บ้านสี่สิบ ต.บาละ อ.กาบัง 2.ผลการดำเนินงาน 1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ
2) กิจกรรมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 4 ฐาน ฐานที่ 1 ความรู้พื้นฐานเรื่องขยะมูลฝอย ฐานที่ 2 การจัดการขยะอินทรีย์โดยการส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน
ฐานที่ 3 การคัดแยกขยะตามหลัก 3Rs ฐานที่ 4 นวัตกรรมจากขยะเหลือใช้ 1. ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม
ประมาณการค่าใช้จ่าย 24,776 บาท
ลำดับ รายการ จำนวน หน่วยละ เป็นเงิน หมายเหตุ 1.)ค่าใช้จ่ายตามกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 1. ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย 776 บาท 776 บาท วันอบรม 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 150 คน จำนวน 1 วันๆละ 2 มื้อ 300ชุด 25 บาท 7,500 บาท วันอบรม 3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 150 คน จำนวน 1 วัน 150 ชุด 50 บาท 7,500 บาท วันอบรม 4. ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย แบ่งเป็น
- ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท/วัน - ค่าสมนาคุณวิทยากรประจำฐานจำนวน 4 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท/วัน

15 ชั่วโมง

600 บาท

9,000 บาท วันอบรมและเรียนรู้ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 24,776 บาท

ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม (อธิบาย) ประชาชนในตำบลบาละ มีความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรือนจากต้นทาง การส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ

  1. ผลที่ได้รับจากโครงการ 2.1 มีการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
    .2 มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การนำขยะมาใช้ประโยชน์โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 สภาพแวดล้อมน่าอยู่ ปราศจากขยะ ลดแหล่งก่อโรค การประเมินผลสำเร็จของโครงการ  มีการดำเนินงานตามแผน คือ แผน....................................................
     ไม่มีการดำเนินงานตามแผน  เป็นไปตามกำหนดเวลา
     ไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา เพราะ เลื่อนจากวันที่..............................เป็นวันที่...........................  ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  มีการติดตามและประเมินผล
  2. ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ที่กำหนด (เชิงคุณภาพ, เชิงปริมาณ)  เชิงคุณภาพ คือ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เท่ากับ ....80%..... (ระดับ.....)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................  เชิงปริมาณ คือ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกกิจกรรม จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย (150คน)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................
  3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (จากสรุปผลประเมินโครงการ) การดำเนินงานโครงการ ในบางกิจกรรมอาจจะต้องใช้รูปแบบกิจกรรมที่ซ้ำๆ เพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะ และการดูและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
  4. แนวทางในการพัฒนาโครงการในปีต่อไป (หากจะมีการดำเนินโครงการต่อเนื่อง) พัฒนาโครงการ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิล การทำน้ำหมักจากขยะอินทรีย์ หรือการจัดทำกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการเรียนรู้ชุมชน ให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็งและการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง





ภาพกิจกรรม โครงการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชน “ชุมชนต้นแบบ ลดปริมาณขยะ ลดแหล่งก่อโรค ”
ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ. ศูนย์เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตทางการเกษตร ม.5 บ้านสี่สิบ ต.บาละ อ.กาบัง









































                บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาละ  โทร.๐-7320-5645 ที่ ยล. 7470๕/    วันที่      ตุลาคม  ๒๕60 เรื่อง  ขอรายงานผลการดำเนิน โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย .............................................................................................................................................................................. 1. เรื่องเดิม ตามบันทึกข้อความ กองสาธารณสุขที่ ยล 745705/  ลงวันที่  สิงหาคม  2560 ขออนุมัติดำเนินงาน โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2560 นั้น

  1. ข้อเท็จจริง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ มีความประสงค์จะขอจัดซื้อจัดจ้าง ตามโครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2560 ดังรายการต่อไปนี้ กิจกรรม 1.ประชุมชี้แจง/อบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน, อสม.และผู้เกี่ยวข้อง
      1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 30 คน   1.2 ค่าอาหารกลางวัน                  จำนวน 30 คน
  2. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย ปลอดโรค
      2.1 ค่าป้ายไวนิลโครงการ   2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม            จำนวน 120 คน   2.3 ค่าอาหารกลางวัน                  จำนวน 120 คน   2.5 ค่าเอกสารในการอบรม              จำนวน 120ชุด 3.กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัย   3.1 ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์                จำนวน 11 ผืนๆ   3.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 120 คน   3.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ 4.ตรวจเยี่ยม/ประเมินผลหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ
      4.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม              จำนวน 10 คน   4.3 ประกวดหมู่บ้านต้นแบบ   - ป้ายรางวัลพร้อมของที่ระลึก    6ป้าย   -  ของที่ระลึก                    16 ชิ้น

  3. ข้อระเบียบ/กฎหมาย ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 9 พ.ศ. 2553

  4. ข้อเสนอแนะ เพื่อให้การทำงานต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ จึงเห็นควรดำเนินการตามข้อ 2

(นางกัญญาภัค  ยอดเมฆ) ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

-2- 5. ความเห็นของรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

.............................................................................................................................................................................

(นางสาวนันทิดา  ไชยลาภ) รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ


6. ความเห็นของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ         เห็นควรอนุมัติ          เห็นควรไม่อนุมัติ

เพราะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
              (ลงชื่อ)

                      (นายพล  หนูทอง)                       นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งก่อโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  2.2 เพื่อรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน และหน่วยงานราชการ สถานศึกษา มัสยิดในพื้นที่ตำบลบาละเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่น โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษขยะ 2.4 เพื่อส่งเสริมให้มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งก่อโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน หมูที่1-11 หน่วยราชการ และศาสนสถานในพื้นที่ตำบลบาละ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh