กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชื่อ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต : ๑.ตรวจพบกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรอง - กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน ๑๒๕ คน     - กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน จำนวน ๓๖ คน   - กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ๑๕๑ คน
- กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูงจำนวน ๗๙ คน
            ๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  จำนวน  ๖๐ คน               (เป้ากลุ่มเสี่ยง ๓๙๑ คน)                   -พบผู้ป่วย เบาหวาน รายใหม่ จำนวน  ๑๑ ราย
                  -พบผู้ป่วยความดัน รายใหม่  จำนวน  ๒๐ ราย

ผลตัวชี้วัด :   ๑.พบกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจคัดกรอง - กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน ๑๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๓ (คัดกรอง ๑,๐๗๕ คน)     - กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน จำนวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๕   - กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ๑๕๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๖๘ (คัดกรอง ๘๗๔ คน) - กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูงจำนวน ๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๔             ๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  จำนวน  ๖๐  คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๓๕
                    -พบผู้ป่วย เบาหวาน ๑๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๓                     -พบผู้ป่วยความดัน ๒๐ ราย  คิดเป็นร้อยละ ๘.๖๙
    ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
      ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/เครือข่ายสุขภาพ. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต  (เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด เข็มเจาะน้ำตาลในเลือด สำลี แอลกอฮอล์
- บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)

   





กระบวนการ

กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - ประชาสัมพันธ์โครงการประสานงานวิทยากรในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย

  • ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต / ให้ความรู้เกี่ยวกับการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ





  • จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยง


  • ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    • จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
  • ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายจาก HCIS/อสม.สำรวจเพิ่ม
  • ชี้แจงในเวทีประชาคมสุขภาพ
  • การประชุมประจำเดือนของอสม.
  • การประชุม NCD. Meeting.

-รณรงค์ตรวจหาน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตโดยจนท./อสม. -ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆเช่น คำแนะนำ/ปรึกษา แจกเอกสาร/แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว - คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการตรวจคัดกรอง ตามเกณฑ์ - จัดอบรม ๑ วัน - ติดตามพฤติกรรมสุขภาพ ในเรื่อง 3 อ.ใน ในกลุ่มเสี่ยงหลังอบรมให้ความรู้ 3 เดือน และ 6 เดือน
- ตรวจความดันโลหิต/ น้ำตาลในเลือด/รอบเอว การจัดเวทีประชาคม


การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ

  • HCIS
  • อสม.
  • ผู้รับผิดชอบงาน
  • แจกเอกสารแผ่นพับ
  • หอกระจายข่าว
  • จนท.รพ.สต./อสม.
  • ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต สายวัด





-วิทยากรจากภายในโซน - วัสดุปกรณ์ในการอบรม (ชุดสาธิตอาหาร เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล) - จนท.รพ.สต./อสม. - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต สายวัด - โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ ๑

  • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการ


    ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคHT/DM จำนวน ๑,๐๗๕ คน ผู้เกี่ยวข้องรับทราบโครงการ
  • มีวิทยากรในการอบรมตามโซน -กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรม/ติดตามให้ความรู้ จำนวน ๖๐ คน
  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๖๐ คน
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... ๖,๐๐๐.. บาท (หกพันบาทถ้วน)
          งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..... ๖,๐๐๐.. บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100......
    งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0.......

  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี

    • กลุ่มเสี่ยงไม่เห็นความสำคัญของการให้คำแนะนำเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    • ระยะเวลาในการอบรมสั้นเกินไปไม่เหมาะสมกับเนื้อหา (กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีอายุมาก)
    • การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขาดความต่อเนื่อง ๕. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง
    • การให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและควรให้ อสม.เป็นบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    • ควรมีมาตรการทางสังคมช่วยในการดำเนินกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นในเชิงบวกหรือเชิงลบ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอด
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงฯได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 3. กลุ่มเสี่ยงมีอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 4. กลุ่มเสี่ยงมีความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติหลังเข้าร่วมโครงการ 6 เดือน มากกว่า ร้อยละ 25
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน    ไขมันในเลือดสูง หัวใจและหลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh