กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลด ความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของ ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (2556-2560) 2. ร้อยละ 80 ของ รพ.สต./โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/วัด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ชื่อ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ประจำปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
      -รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชนและสถานที่สาธารณะโดยเครือข่าย อสม.และ จนท.รพ.สต. จำนวน ๔ ครั้ง (ธค.๖๐/มีค.๖๑/มิย.๖๑/กย.๖๑) โดยวิธี ทางกายภาพ (คว่ำ เผา ฝัง ภาชนะ) ชีวภาพ (ใส่ปลากินลูกน้ำ) สารเคมี (ใส่ทรายทีมีฟอสกำจัดลูกน้ำ) - สำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพ และวิธีทางเคมี โดยเครือข่าย อสม.และ เจ้าของบ้าน เดือนละ ๑ ครั้ง รวม ๑๒ ครั้ง
- ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ       * จัดกิจกรรมรณรงค์/ให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม  โป๊สเตอร์ แผ่นพับ
      * หอกระจายข่าว เสียงตามสาย รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ รวม ๖ ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๑ ราย ๆละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๑ สัปดาห์ - เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่ พร้อมวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออกเดือนละ ๑ ครั้งและแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน ๑๒ ครั้ง ผลตัวชี้วัด : - ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh