โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอนิง ซอแนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง
พฤษภาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3032-02-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2561 ถึง 14 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3032-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2561 - 14 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการจัดการขยะในระยะสั้นของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนโดยทั่วไป ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินการลดขยะที่ต้นทาง เพื่อให้วางรากฐานการดำเนินการการจัดการขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คือการลดปริมาณขยะจากแหล่งต้นทาง (Reduce) การนำกลับมาใช้ซ้ำ (Recycle)และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) หรือหลักการ ๓Rs ซึ่งการจัดการขยะนั้นมุ่งเน้นการลดปริมาณขยะจากครัวเรือน
คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นหน่วยงานปฏิบัติการในระดับพื้นที่ ในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ติดตามประเมินผล และประสานการดำเนินงานในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุน ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับหมู่บ้าน/ชุมชน โรงเรียนหรือภาคส่วนและประชาชนในท้องถิ่นมีการดำเนินการ ลด คัดแยก และนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ตามหลัก ๓Rs พร้อมกับส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการขยะ เพื่อเป็นต้นแบบให้กับชุมชน/หมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถหรือแนวทางการดำเนินงานการจัดการขยะในชุมชนในปัจจุบันการให้ความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริมและการประชาสัมพันธ์หรือรณรงค์ให้ประชาชนมีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนหรือจากแหล่งกำเนิด ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปกำจัดได้อย่างประสิทธิภาพและทันต่อเวลาไม่มีขยะมูลฝอยตกค้างเกิดขึ้น การเข้าถึงความรู้ดังกล่าว ควรผ่านกระบวนการประชุมสัมมนา การศึกษาดูงานและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหน่วยงานหรือท้องถิ่นอื่น ทางคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ”
- เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ
- เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะในครัวเรือน
- กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมการอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสามารถนำไปบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลักการ “บวร” ในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ต่อไป
- ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีกิจกรรมการลด คัดแยก และใช้ประโยชน์จากขยะมากขึ้น
- เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเต็มพื้นที่ เพื่อพัฒนาต่อยอดให้เกิดการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ”
ตัวชี้วัด :
0.00
90.00
2
เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ
ตัวชี้วัด :
0.00
80.00
3
เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society
ตัวชี้วัด :
0.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ” (2) เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ (3) เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะในครัวเรือน (2) กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3032-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะรอนิง ซอแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอนิง ซอแนะ
พฤษภาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3032-02-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2561 ถึง 14 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3032-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2561 - 14 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการจัดการขยะในระยะสั้นของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนโดยทั่วไป ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินการลดขยะที่ต้นทาง เพื่อให้วางรากฐานการดำเนินการการจัดการขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คือการลดปริมาณขยะจากแหล่งต้นทาง (Reduce) การนำกลับมาใช้ซ้ำ (Recycle)และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) หรือหลักการ ๓Rs ซึ่งการจัดการขยะนั้นมุ่งเน้นการลดปริมาณขยะจากครัวเรือน
คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นหน่วยงานปฏิบัติการในระดับพื้นที่ ในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ติดตามประเมินผล และประสานการดำเนินงานในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุน ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับหมู่บ้าน/ชุมชน โรงเรียนหรือภาคส่วนและประชาชนในท้องถิ่นมีการดำเนินการ ลด คัดแยก และนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ตามหลัก ๓Rs พร้อมกับส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการขยะ เพื่อเป็นต้นแบบให้กับชุมชน/หมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถหรือแนวทางการดำเนินงานการจัดการขยะในชุมชนในปัจจุบันการให้ความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริมและการประชาสัมพันธ์หรือรณรงค์ให้ประชาชนมีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนหรือจากแหล่งกำเนิด ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปกำจัดได้อย่างประสิทธิภาพและทันต่อเวลาไม่มีขยะมูลฝอยตกค้างเกิดขึ้น การเข้าถึงความรู้ดังกล่าว ควรผ่านกระบวนการประชุมสัมมนา การศึกษาดูงานและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหน่วยงานหรือท้องถิ่นอื่น ทางคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ”
- เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ
- เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะในครัวเรือน
- กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมการอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสามารถนำไปบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลักการ “บวร” ในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ต่อไป
- ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีกิจกรรมการลด คัดแยก และใช้ประโยชน์จากขยะมากขึ้น
- เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเต็มพื้นที่ เพื่อพัฒนาต่อยอดให้เกิดการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ” ตัวชี้วัด : |
0.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ ตัวชี้วัด : |
0.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society ตัวชี้วัด : |
0.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางและบทบาทตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไร้ขยะ” (2) เพื่อให้เกิดการบูรณาการการดำเนินงานภายใต้หลัก “บวร” ในครัวเรือน โรงเรียน สถานศึกษา สถานประกอบการเอกชนและศาสนสถาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการดำเนินการ (3) เพื่อเกิดการพัฒนา ส่งเสริมและยกระดับหรือการดำเนินการใดๆ ที่ชุมชนได้ดำเนินการเกี่ยวกับการลด คัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้กับภาคส่วนอื่นๆได้ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวไปสู่สังคมไร้ขยะ Zero waste society
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะในครัวเรือน (2) กิจกรรมที่ 2 ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3032-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะรอนิง ซอแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......