กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ 1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนภายใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง ได้สำรวจคัดกรองนักเรียนจากการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ซึ่งมีนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 6 คน 2. ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกเดือน และแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0 – 6 ปี กรมอนามัย ดังรายชื่อดังต่อไปนี้ ที่ ชื่อ – สกุล อายุ (เดือน) น้ำหนัก ส่วนสูง น้ำหนักตามอายุ ส่วนสูงตามอายุ  น้ำหนักตามส่วนสูง 1 ด.ญ.จุฬารัตน์ หมัดอาหลี 26    10.00    81.00  น้ำหนักค่อนข้างน้อย    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 2 ด.ญ.นาวา แสงศรี    30    11.00    83.00  น้ำหนักตามเกณฑ์    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 3 ด.ช.คัมภีร์ จันทร์รัตน์    33    11.60    90.00  น้ำหนักค่อนข้างน้อย    ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน 4 ด.ช.ภัทรกฤต กระจ่างจบ 36    12.00    88.00  น้ำหนักค่อนข้างน้อย    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 5 ด.ช.อนุพล ทองมณี    38    11.70    89.00  น้ำหนักค่อนข้างน้อย    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 6 ด.ญ.พิชญธิดา กระทุ่ม    29      8.70    83.50  น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์  ส่วนสูงตามเกณฑ์ ผอม 3. ได้ดำเนินการแก้ปัญหานักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ตามรายชื่อข้างต้น โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน จัดให้รับประทานอาหารว่างเช้า และได้ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือนตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2561 – ตุลาคม 2561 ในการติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงครั้งล่าสุด เมื่อวันที่31 ตุลาคม 2561 ผลปรากฏว่า คงเหลือนักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 1 คน จากนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ที่ร่วมโครงการจำนวน 6 คน ที่ ชื่อ – สกุล อายุ (เดือน) น้ำหนัก ส่วนสูง น้ำหนักตามอายุ ส่วนสูงตามอายุ  น้ำหนักตามส่วนสูง 1 ด.ญ.จุฬารัตน์ หมัดอาหลี  33    12.00 85.00    น้ำหนักตามเกณฑ์  ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 2 ด.ญ.นาวา แสงศรี      34    13.00 87.00    น้ำหนักตามเกณฑ์    ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน 3 ด.ช.คัมภีร์ จันทร์รัตน์      38    13.50 96.00    น้ำหนักตามเกณฑ์    ส่วนสูงตามเกณฑ์ สมส่วน 4 ด.ช.ภัทรกฤต กระจ่างจบ  41    13.00 90.50    น้ำหนักตามเกณฑ์    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 5 ด.ช.อนุพล ทองมณี      42    13.00 91.00    น้ำหนักตามเกณฑ์    ค่อนข้างเตี้ย    สมส่วน 6 ด.ญ.พิชญธิดา กระทุ่ม      34    10.00 86.00    น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์  ค่อนข้างเตี้ย    ผอม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเหณฑ์อายุ
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันมีความรู้่ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
0.00

 

4 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันมีความรู้่ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการ (4) 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสื่อสารข้อมูลกับผู้ปกครองให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีภาวะทุพโภชนาการ อย่างน้อย 3 ครั้ง (2) จัดอบรมให้ความรู้กับครูผู้ดูแล ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฎิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัย (3) จัดอบรมผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัน (4) จัดให้มีอาหารเช้าให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีภาวะโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh