กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้นและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย การลดความเครียดโดยการปลูกผักสวนครัวพื้นบ้าน การปลูกผักสมุนไพร ใช้เป็นอาหารและยา ปรุงอาหารกินเอง ร้อยละ ๕๐ ๒.ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจทางศาสนา ประเพณีในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง ๓. ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน ส่งเสริมการทำขนมไทย เย็บปักถักร้อย จักรสาน การทำของใช้สมุนไพร เดือนละ ๑ ครั้ง
0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เพื่อนช่วยเพื่อนได้
ตัวชี้วัด : 2. แกนนำผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ เยี่ยมบ้านดูแลให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เดือนละ ๑ ครั้ง โดยทีมระดับหมู่บ้าน ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ ๘๐
0.00

 

4 ข้อที่ ๔ เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ๔. เดือนละ ๑ ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ (2) ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เพื่อนช่วยเพื่อนได้ (3) ข้อที่ 3  เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน (4) ข้อที่ ๔ เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมแกนนำผู้สูงอายุ/คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุของหมู่บ้านจัดตั้งคณะกรรมการ (2) 2. ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ -ตรวจคัดกรองสุขภาพ  สุขภาพช่องปาก  ภาวะซึมเศร้า  -สาธิตออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ไม้พลอง  รำวงมาตรฐาน (3) 3.สาธิตการปรุงอาหารผักพื้นบ้าน  การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร  การทำบัญชีครัวเรือน  การออมเงิน  (4) ๔.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ  ปฏิบัติธรรมที่วัดวันพระ (5) ๕.จัดกิจกรรม จักรสาน น้ำยาเอนกประสงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh