กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งรัฐบาลไทย และทั่วโลกได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงมีความพยายาม และมีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ให้ทุกคนตระหนัก เข้าใจ และพร้อมดูแลผู้สูงอายุให้ทัดเทียมเช่นเดียวกับการดูแลประชากรในกลุ่มอายุอื่น     ผู้สูงอายุ จะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบสรีระร่างกายที่ถดถอยลง เมื่ออายุมากขึ้นสิ่งที่พบบ่อยและเห็นได้ชัดคือความเสื่อมที่เกิดกับระบบการเคลื่อนไหว ซึ่งองค์ประกอบสำคัญในการเครื่องไหวประกอบไปด้วย 2 ระบบด้วยกัน ระบบแรกคือระบบประสาท เช่น โรคหลอดเลือดในสมอง (Stroke) ส่งผลทำให้เป็นอัมพฤต อัมพาต และระบบที่สองความเสื่อมของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ข้อเสื่อม อาการปวดตามร่างกายต่างๆ ซึ่งภาวะความเจ็บป่วยเหล่านี้ ทำให้มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวัน เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตังเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล จึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จากข้อมูลผู้ที่มารับบริการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัดปี 2559 พบว่าผู้ป่วยและผู้พิการที่อยู่ในระหว่างการฟื้นฟูไม่ได้มารับการฟื้นฟูตามนัด ส่งผลให้ขาดความต่อเนื่องในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์ ทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ ได้แก่ ขาดงบประมาณสนับสนุน ความลำบากในการเดินทางมารับบริการ ด้านเศรษฐกิจของผู้ดูแล การคมนาคมไม่สะดวก เป็นต้น ส่งผลให้ผู้ป่วยสูญเสียโอกาสในการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ดังนั้นเป้าหมายที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยที่จำเป็นจะต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์ หรือผู้พิการนั้นจำเป็นจะต้องได้รับการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัดให้เหมาะสมในแต่ละราย และเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการบริการได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
  ดังนั้นงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลเขาชัยสน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการการรับ-ส่งผู้ป่วยในชุมชนมายังโรงพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรถภาพทางด้านการแพทย์และผู้พิการเพื่อจะได้เกิดประโยชน์สูงสุดแกผู้มารับบริการและผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจ วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)     1. ขั้นเตรียมการ - ประสานงานผู้เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์ - เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ - ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง - รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ - จัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้ - จัดทำโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์โครงการ และโปสเตอร์ให้ความรู้ - ให้การฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์ ทุกวันราชการ เวลา 13.00-16.30น. ในเดือน มิถุนายน61–กันยายน 61 - บันทึกความก้าวหน้าการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ - สรุปรายงานการดำเนินโครงการ     2. ขั้นดำเนินการ     -  ดำเนินงาน รับ-ส่ง ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์ และผู้พิการ     -  ให้ความรู้และวิธีการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัดแก่ผู้ป่วยหรือผู้พิการ     -  ผู้ป่วยหรือผู้พิการสามารถนำวิธีการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัดกลับไปทำเองได้ที่บ้าน     -  ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น     3. ขั้นประเมินผล     -  ประเมินความพึงพอใจ และสมรรถภาพทางด้านร่างกายของผู้มารับบริการ     -  สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ   กลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการที่ทั่วถึง และได้รับความรู้ในการฟื้นฟูสมรรถนะทางการแพทย์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการ มีความพึงพอใจ
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู และผู้พิการมีความรู้สามารถดูแลตนเองได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู และผู้พิการได้รับการฟื้น สมรรถนะทางการแพทย์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการ มีความพึงพอใจ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้สามารถดูแลตนเองได้อย่างน้อยร้อยละ 80

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟู และได้รับการฟื้น สมรรถนะทางการแพทย์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้พิการ มีความพึงพอใจ อย่างน้อย ร้อยละ 70 กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย
  2. รับ-ส่ง ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการแพทย์
คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ