กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ
100.00
1.1 การประเมินความรู้/ความเข้าใจ ก่อน-หลัง การอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แบ่งออกเป็น 5 ระดับ จัดเก็บได้จำนวน 40 ชุด มีรายละเอียดดังนี้     ประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม     1) เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับปานกลาง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00
    2) เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับน้อย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00     3) เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับมากที่สุด จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับมาก    จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับปานกลาง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 ระดับน้อย จำนวน  4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00     4) ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับน้อย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 5) นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก  จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับปานกลาง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับน้อย จำนวน  3 คน คิดเป็นร้อยละ 07.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 6) นำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น ระดับมากที่สุด จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับมาก  จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.50 ระดับปานกลาง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 57.50 ระดับน้อย จำนวน  2 คน คิดเป็นร้อยละ 05.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ผลการประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 19.17 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.58 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50.42 ระดับ น้อย คิดเป็นร้อยละ 05.83 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00     ประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม     - เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับมาก จำนวน
11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับปานกลาง จำนวน 7 คิดเป็นร้อยละ 17.5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00

  • เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับมาก จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับปานกลาง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับน้อย จำนวน
    • คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับมากที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 ระดับมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับปานกลาง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 07.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 ระดับมาก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ระดับปานกลาง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับมาก จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 ระดับปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับมากที่สุด จำนวน 14 คิดเป็นร้อยละ 35.00 ระดับมาก จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ผลการประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.42 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 09.58 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 40 คน ทุกคนมีความรู้ในเรื่องดังกล่าวมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00
    1.2 จากแผนผังความคิดเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม การตั้งครรภ์ไม่พร้อม
    โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวิธีการป้องกันโรค พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และ สามารถอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดปัญหาและแก้ไขปัญหา ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1.3 การประเมินความพึงพอใจของการจัดอบรมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 40 คน จัดเก็บได้ทั้งหมดจำนวน 40 ฉบับ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.92 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 28.75 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 กลุ่มเป้าหมายทุกคนต้องการให้มีการจัดกิจกรรมนอกพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ได้มีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น มีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่นมีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน 20 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (2) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (3) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น มีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรุนแรง เช่น สาเหตุของการเกิดความรุนแรงทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด (2)  อบรมให้ความรู้ เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด (3)                กิจกรรมละลายพฤติกรรม สันทนาการร่วมกันระหว่างเด็กและครอบครัว (4) อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์  เช่น  โรคหนองใน โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV)  โรคเอดส์ (AIDS) เป็นต้น และวิธีการป้องกันโรค แล้วสรุปแผนผังความคิด  (5)  กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ วิธีการป้องกันปัญหาพร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh