กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (1) เพื่อพัฒนา อสม. ให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)เป้าหมายจำนวน 69คน (2) เพื่อพัฒนา อสม. ให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ผ่านระบบการสื่อสารดิจิทัล (3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนบทบาทของ อสม. ในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : (1)สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เช่น application สมาร์ทอสม. หรือโปรแกรมอื่นๆที่กำหนดได้อย่างน้อย ร้อยละ 80 (2) มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือเรื่องอื่นๆ ที่กำหนดร้อยละ 70 (3) ร้อยละ 35 ของอสม. ที่มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 69
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 69
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (1) เพื่อพัฒนา อสม. ให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)เป้าหมายจำนวน 69คน
(2) เพื่อพัฒนา อสม. ให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ผ่านระบบการสื่อสารดิจิทัล
(3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนบทบาทของ อสม. ในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.คัดเลือก อสม.ที่มีความพร้อมร้อยละ 70ของอสม. ทั้งหมด  98 คน ต้องพัฒนา 69 คน (กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นอสม. 4.0 ตามเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70) 1. ประสานทีมวิทยากร 2. จัดเตรียมสถานที่เอกสาร (2) 1.3กิจกรรมย่อย  อบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR : Cardiopulmonary Resuscitation)  (3) 1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดกิจกรรม จำนวน ๖9 คน X ๒๕ บาท X 2  มื้อ  =  3,450 บ. 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 69 คน X 70 บ. = 4,830 บ. 3. ค่าวิทยากรจากภายนอก(เครือข่ายฉุกเฉินภาคใต้) จำนวน  4 คน X 3 ชม. X 600 บ. = 7,200บ.4. ค่าวิทยากรจากรพ.สตูล จำนวน  2  (4) 1.2 กิจกรรมย่อย  อบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น  (5) 3.ขั้นประเมินผลและจัดทำเอกสารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ฉลุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh