กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อลดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 45 คน เหลือ ๒๕ คน
0.00

 

2 ๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน ๑ ชมรม
ตัวชี้วัด : ชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน ๑ ชมรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  ๑.เพื่อลดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐ (2) ๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน  ๑ ชมรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ขั้นเตรียม  ๑.๑ ทีมสุขภาพสร้างความเข้าใจกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง ประกอบด้วย  ผู้นำชุมชน ,ผู้นำศาสนา, สมาชิก อบต., อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๑๐ทุกคน,ตัวแทนผู้สูงอายุในชุมชน , แกนนำกลุ่มต่างๆ ,กลุ่มเส (2) 2. ขั้นดำเนินการ  ๒.๑ กิจกรรมสร้างข้อตกลงร่วมกัน  ( ๓ ชั่วโมง)  - ประเมินความรู้ก่อนดำเนินกิจกรรมโครงการ  - สร้างความคาดหวังของกลุ่มชุมชน  - สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง  - สอน/สาธิต การวัดความดันโลหิตที่บ้านที่ถูกต้อง พร้อมแจกแบบฟอ (3) ๒.๒ กิจกรรม ในชุมชน เรื่อง  ๓ อ. ๒ ส. ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง X ๓ ครั้ง    ครั้งที่ ๑  ( ๓ ชั่วโมง)          -  ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันโลหิตได้ครบ ๗  วัน กลุ่มแรก        - ค้นหาปัจจัยเสี่ยงร่วมกันวางแผ (4) กิจกรรมในชุมชน เรื่อง 3อ 2ส ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง*3 ครั้งที่ 2 (6ชั่วโมง) - ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันได้ครบ 7 วัน กลุ่มที่ 2  - จัดกิจกรรมให้ความรู้/สาธิตเรื่อง 3อ. 2ส..โดยทีมวิทยกรสาธารณสุขอำเภอเมือง (5) ๓.ขั้นประเมินผล  3.ขั้นประเมินผลและจัดทำเอกสารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ฉลุง (6) ครั้งที่ ๓ ( 6 ชั่วโมง)      - จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยน        - ประเมินความรู้หลังดำเนินกิจกรรมโครงการ      - สรุปกิจกรรมโครงการร่วมกันพร้อมกับวางแผนต่อเนื่องโดยชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh