กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

ชื่อโรงเรียน              เป้าหมาย (คน)        ผู้เค้าร่วมโครงการ (คน)        คิดเป็นร้อยละ

โรงเรียนบ้านรับแพรก            55                      60                    100

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

    จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 คน มีผู้เข้าร่วม 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรม

คะแนนเต็ม            100          คะแนน

คะแนนต่ำสุด          53.33          คะแนน

คะแนนสูงสุด          93.33          คะแนน

ค่าเฉลี่ย              73.33          คะแนน

ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมหลังการอบรม

คะแนนเต็ม            100          คะแนน

คะแนนต่ำสุด          93.33          คะแนน

คะแนนสูงสุด          100            คะแนน
ค่าเฉลี่ย              96.67          คะแนน

ที่มา : ข้อมูลจากการทำแบบทดสอบก่อนหลังเข้าร่วมโครงการที่นำมาประมวลผลแล้ว

จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่าหลังเข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 มีความรู้เพิ่มขึ้นจาก 73.33 เป็น 96.67 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับดีมาก

ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด

  1. ผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 96.67

  2. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 96.67

    3. จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

    4.โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 จำนวน  60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตอเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 90
90.00 96.67

ประเมินจากการวัดความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้หลังเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 96.67 %

2 เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 90
90.00 96.67

ประเมินจากการวัดความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้หลังเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 96.67 %

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55 60
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

องค์การอนามัยโลกและประเทศไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบสุขภาพ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค คือ “การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”การเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อสภาพสังคมและชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและอนาคตหลายประการ ในภาคสังคมวิถีชีวิตอุบัติใหม่ที่เป็นผลจากการพัฒนาที่ผ่านมา กำลังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคมใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น วิถีชีวิตอุบัติใหม่มีผลทำให้ครอบครัวในสังคมเมืองเปลี่ยนไป คนวัยทำงานมุ่งหาเงินสร้างฐานะมากกว่าการมีครอบครัว จึงแต่งงานช้าและมีบุตรน้อยลง ทำให้ประชากรเด็กน้อยลงทุกทีซึ่งจะส่งผลให้เกิดวิกฤติ 1:2:4 ในอนาคต (วิกฤติสังคม ที่คนรุ่นหลาน 1 คน ต้องดูแลคนรุ่นพ่อ แม่ 2 คนและต้องดูแลคนรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย 4 คน ) อย่างไรก็ดี การที่จะทำให้ประชาชนลุกขึ้นมาทำด้วยตนเองเป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยการศึกษาและการเสริมเติมเต็มพลังปัญญาแก่ประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา ในหมู่บ้าน/ชุมชน มี ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาดูแลสุขภาพของครอบครัว ชุมชน คือ อสม.แต่ก็ยังมีปัญหา ข้อจำกัดหลายประการที่ทำให้ อสม.ไม่สามารถดูแลสุขภาพเพื่อนบ้านในชุมชน ได้อย่างทั่วถึงได้และเพื่อเป็นการสร้างคนรุ่นหลานให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา เป็นการสร้างคน เพื่อชุมชนที่เข้มแข็ง สามารถดูแลสุขภาพคนในครอบครัว/ชุมชน ต่อไปในอนาคตได้อย่างยั่งยืน ทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำ “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh