กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : .อัตราป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 5
0.00 2.03

 

 

พบกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.03 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง จำนวน 1 คน คิดเป้นร้อยละ 1.09

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70
0.00 70.00

 

 

กลุ่มเสี่ยงเบา่หวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 338 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลทุกคน รายกลุ่ม 1 ครั้ง จำนว 100 คนคิดเป้นร้อยละ 29.58

3 เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าร้อยละ 40 2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 50
0.00 46.69

 

 

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 242คน สามารถควบคุมความดันได้ดีจำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 46.69