กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลงร้อยละ 5 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวานจากการคัดกรอง 246คน ป่วยเป็นเบาหวานรายใหม่จำนวน 5 คน คิดเป้นร้อยละ 2.03 -กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง 92ราย ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 1 ราย คิดเป้นร้อยละ 1.09 2.กลุ่มเสี่่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70 -กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานรวม 338คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลทุกคน และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายกลุ่ม 1 ครั้ง จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 29.58 3.กลุ่มเสี่ยงที่มีค่า BMIเกินลดลง มากกว่าร้อยละ 40 -ประชากร 35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจBMIจำนวน 838คน และได้ัรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายกลุ่ม1ครั้ง จำนวน 100 คน มีBMI ลดลง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 4.ผู้ป่วยความดันโหลิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 5-0 -ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 242 คน สามารถควบคุมความดันได้ดีจำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 46.69

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : .อัตราป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 5
0.00 2.03

พบกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.03 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง จำนวน 1 คน คิดเป้นร้อยละ 1.09

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70
0.00 70.00

กลุ่มเสี่ยงเบา่หวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 338 คน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลทุกคน รายกลุ่ม 1 ครั้ง จำนว 100 คนคิดเป้นร้อยละ 29.58

3 เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าร้อยละ 40 2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 50
0.00 46.69

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 242คน สามารถควบคุมความดันได้ดีจำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 46.69

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่เจ้าหน้าที่ และ อสม.ในการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงที่มีรอบเอวเกินมาตรฐาน (3) การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้มหกรรมสุขภาพ (5) ตรวจคัดกรองความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ในการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป อาจทำกลุ่มย่อยเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น .ปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ .ผู้ที่ร่วมคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง แล้วพบภาวะเสี่ยง ไม่ยอมตรวจซ้ำและปฏิเสธเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่วนที่ผู้ที่ป่วยเป็นโรคแล้วก็ไม่ตระหนักถึงอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนของโรค

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh