กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑.เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ ๑๐-๑๙ ปี ไม่เกินร้อยละ ๑๐
0.00 33.33

 

 

หญิงตั้งครรภ์ในช่วงอายุ 10-19 ปี มีการตั้งครรภ์ร้อยละ 5.45 (ผลงาน6คน/เป้าหมาย 110คน) -หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ10-19ปี ร้อยละ 33.33 (2/6)

2 ข้อที่ ๒.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด-๕ ปี
ตัวชี้วัด : ๑.เด็ก ๐-๕ ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ กระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องโดยผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ ๙๕ และในรายที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย และได้รับการส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติ ๒.เด็กอายุ ๙ ,๑๘ ,๓๐,๔๒ เดือนได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กร้อยละ ๑๐๐
0.00 100.00

 

 

พบรายผิดปกติที่ต้องส่งต่อโรงพยาบาลทุ่งหว้า ร้อยละ 7.41 (2/27) -เด็ก 0-5ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ร้อยละ 92.86

3 ข้อที่ ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ๑.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๒.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากการประเมินทุกๆ ๓ เดือน
0.00 86.36

 

 

-กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-3ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 86.36 (57/66) -กลุ่มนักเรียนได้รับการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 94.49 -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 100 -กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากการประเมินทุกๆ 3 เดือน