โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน ”
ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
ที่อยู่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1506-02-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2561 ถึง 8 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1506-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2561 - 8 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเป้าหมายในอันที่จะมุ่งสร้างหลักประกันและความมั่นคงในการมีสุขภาพที่ดีแก่ประชาชน โดยกำหนดเป็นนโยบาย และเป็นภารกิจระดับชาติที่อยู่ภายใต้แนวคิด "กระทรวงสาธารณสุข มุ่งสร้างคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรง"อันเป็นนโยบายเชิงรุก ที่มุ่งเน้นในการกระตุ้นให้ประชาชน หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตัวเอง โดยได้ดำเนินโครงการรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งได้กระแสตอบรับจากประชาชน ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ให้ความสนใจหันมาออกกำลังกายกันมากขึ้นอย่างไรก็ตาม นอกจากการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแล้ว การที่จะมีสุขภาพที่ดี ยังต้องประกอบด้วยปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง นั้นคือ อาหารที่บริโภค จะต้องเป็นอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไร้สารพิษปนเปื้อน แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะได้เร่งรัดดำเนินการขึ้นทะเบียน อาหาร และยา ควบคุม ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งดำเนินการตรวจจับอย่างเข้มงวดเพียงใดก็ตาม ก็ยังพบว่ายังมีอาหารหลายประเภท และเป็นจำนวนมากในท้องตลาดที่กระบวนการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ อันตรายที่ร้ายแรงยิ่งกว่าความไม่สะอาดของอาหารเหล่านั้น มาจากมีสารพิษปนเปื้อนในอาหารหลายประเภท เช่น สารพิษฟอกขาว สารพิษเร่งเนื้อแดง สารพิษกันเน่าเสีย และสารพิษให้อาหารเหนียว หรือกรอบน่ารับประทาน
ดังนั้นชมรมอสม. รพ.สต.บ้านต้นปรงมีความห่วงใยผู้บริโภค ซึ่งอาจบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด และปนเปื้อนสารพิษดังกล่าว ที่อาจบริโภคเป็นอันตรายโดยความไม่รู้และไม่เข้าใจ เพราะขาดข้อมูล หรือบริโภคโดยขาดความใส่ใจ และตระหนักถึงอันตราย จากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษปนเปื้อน เพื่อให้นโยบายการ เร่งสร้างสุขภาพที่แข็งแรงแก่ประชาชนบรรลุเป้าหมาย ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมุ่งหวังจึงดำเนิน โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้านเพื่อรณรงค์ให้ประชาชน ใส่ใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร
- เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร
- ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร
- มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร (2) เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร (3) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1506-02-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน ”
ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1506-02-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2561 ถึง 8 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1506-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2561 - 8 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเป้าหมายในอันที่จะมุ่งสร้างหลักประกันและความมั่นคงในการมีสุขภาพที่ดีแก่ประชาชน โดยกำหนดเป็นนโยบาย และเป็นภารกิจระดับชาติที่อยู่ภายใต้แนวคิด "กระทรวงสาธารณสุข มุ่งสร้างคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรง"อันเป็นนโยบายเชิงรุก ที่มุ่งเน้นในการกระตุ้นให้ประชาชน หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตัวเอง โดยได้ดำเนินโครงการรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งได้กระแสตอบรับจากประชาชน ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ให้ความสนใจหันมาออกกำลังกายกันมากขึ้นอย่างไรก็ตาม นอกจากการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแล้ว การที่จะมีสุขภาพที่ดี ยังต้องประกอบด้วยปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง นั้นคือ อาหารที่บริโภค จะต้องเป็นอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไร้สารพิษปนเปื้อน แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะได้เร่งรัดดำเนินการขึ้นทะเบียน อาหาร และยา ควบคุม ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งดำเนินการตรวจจับอย่างเข้มงวดเพียงใดก็ตาม ก็ยังพบว่ายังมีอาหารหลายประเภท และเป็นจำนวนมากในท้องตลาดที่กระบวนการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ อันตรายที่ร้ายแรงยิ่งกว่าความไม่สะอาดของอาหารเหล่านั้น มาจากมีสารพิษปนเปื้อนในอาหารหลายประเภท เช่น สารพิษฟอกขาว สารพิษเร่งเนื้อแดง สารพิษกันเน่าเสีย และสารพิษให้อาหารเหนียว หรือกรอบน่ารับประทาน
ดังนั้นชมรมอสม. รพ.สต.บ้านต้นปรงมีความห่วงใยผู้บริโภค ซึ่งอาจบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด และปนเปื้อนสารพิษดังกล่าว ที่อาจบริโภคเป็นอันตรายโดยความไม่รู้และไม่เข้าใจ เพราะขาดข้อมูล หรือบริโภคโดยขาดความใส่ใจ และตระหนักถึงอันตราย จากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษปนเปื้อน เพื่อให้นโยบายการ เร่งสร้างสุขภาพที่แข็งแรงแก่ประชาชนบรรลุเป้าหมาย ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมุ่งหวังจึงดำเนิน โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้านเพื่อรณรงค์ให้ประชาชน ใส่ใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร
- เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร
- ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร
- มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกซื้ออาหาร (2) เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความตระหนักในการปรุงอาหาร (3) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้มีผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมแกนนำอาหารปลอดภัยระดับหมู่บ้าน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1506-02-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......