กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 5 2.กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 70 3.คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90 4.คัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 60
0.00 4.60

 

 

1.อัตราป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 4.60 2.กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๖๐ 3. คัดกรองความดันโลหิตสูงร้อยละ ๙๘.๘๘ มะเร็งเต้านมร้อยละ ๗๔.๗๑ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๕๘.๙๐

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 50
0.00 38.98

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ ๔.๕๕ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ ๓๘.๙๘