กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็งโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงหัวใจและหลอดเลือด หมู่ที่ 5 บ้านหนักขัน ตำบลชะมวง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆ ละอย่างน้อย 30  นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดการเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด 2.หมู่ที่ 5 บ้านหนักขัน ผ่านการประเมินการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ระดับดี ของอำเภอควนขนุน รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ 1.กิจกรรมสร้างทีมดำเนินงาน
  - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท                                                              เป็นเงิน  1,250  บาท 2.กิจกรรมศึกษาข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน   - ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.5 x 2 เมตร  จำนวน 2 แผ่น ๆ ละ 450 บาท                      เป็นเงิน    900  บาท   - ค่าจัดทำป้ายไวนิลมาตรการหมู่บ้าน  ขนาด 1.5 x 2 เมตร  จำนวน 2 แผ่น ๆ ละ 450 บาท                      เป็นเงิน    900  บาท   - ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1 จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 5 แผ่น ๆ ละ  0.50 บาท            เป็นเงิน    125  บาท   - ค่าชุดทดสอบสารเคมีตกค้างในเลือด จำนวน 1 ขวด ๆ ละ 950 บาท                                                  เป็นเงิน    950  บาท 3.กิจกรรมจัดการเรียนรู้ 3.1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1 (ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร)       - ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท                                                                  เป็นเงิน    900  บาท       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท                                              เป็นเงิน  1,250  บาท 3.2 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 2 (การสาธิตเมนูอาหาร)       - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3  ชั่วโมง ๆ ละ ละ 300 บาท                                                          เป็นเงิน      900  บาท       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท                                              เป็นเงิน  1,250  บาท 3.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 3 (การทำปุ๋ยหมัก)
      - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3  ชั่วโมง ๆ ละ ละ 300 บาท                                                          เป็นเงิน      900  บาท       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท                                              เป็นเงิน  1,250  บาท       - ค่าพันธุ์ผักในการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ                                                                    เป็นเงิน    2,000  บาท 4.กิจกรรมเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ       - ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2 จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 5 แผ่น ๆ ละ 0.50 บาท          เป็นเงิน      125  บาท       - ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช  จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 5 แผ่น ๆ ละ 0.50 บาท  เป็นเงิน  50  บาท 5.กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท                                              เป็นเงิน  1,250  บาท       - ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท                                                        เป็นเงิน  3,500  บาท       - ค่าจัดทำป้ายไวนิลสรุปขั้นตอนการดำเนินงาน  ขนาด 0.5 x 1.5 เมตร  จำนวน 8 แผ่น ๆ ละ 300 บาท    เป็นเงิน  2,400  บาท       - ค่าจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้ (ป้ายโฟม)  จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 1,200 บาท                                        เป็นเงิน  1,200  บาท       - ค่ารางวัลในการค้นหาเป็นบุคคลต้นแบบ                                                                                  เป็นเงิน    500  บาท       - ค่ารางวัลในกิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้                                                                            เป็นเงิน  3,000  บาท 6.กิจกรรมประเมินการพัฒนาหมู่บ้าน       - ค่าจัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน เพื่อรองรบการประเมินจากคณะกรรมกาารฯ                              เป็นเงิน  1,000  บาท                                                                                                                                 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  25,600  บาท      

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมันของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาละ 3 วัน ๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมันของหมู่บ้านต้นแบบลดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (3) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบแบบลดโรคฯ มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาละ 3 วัน ๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh