กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน 28 มิ.ย. 2561 19 ก.ย. 2561

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมและกำหนดวัน เวลา สถานที่ในการจัดกิจกรรม

 

ผลผลิต คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

 

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. 4 ก.ค. 2561 19 ก.ย. 2561

 

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์และวางแผนกำหนดวันเวลา และสถานที่ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

 

ผลผลิต 1. อสม. ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมถูกต้องหลังการอบรม ร้อยละ 100 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี  ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของปีที่ผ่านมา 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

 

กิจกรรมอบรมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย 16 ก.ค. 2561 21 ก.ย. 2561

 

1.ให้ อสม.แนะนำและติดตามกลุ่มเป้าหมายในตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแล้วส่งผลกลับมายัง รพ.สต.เพื่อคีย์ข้อมูลและหากสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแล้วเจอความผิดปกติหรือไม่มั่นใจ  ให้ อสม.ติดตามและส่งต่อมายัง รพ.สต. 2. ตรวจ Pap smear แล้วส่งแผ่นสไลด์ ไปตรวจและอ่านผล ณ โรงพยาบาลสตูล 2.1. รับผลการตรวจและแจ้งผลไปยังกลุ่มเป้าหมาย 2.2. คีย์ข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 3.  สรุปผลการคัดกรอง

 

ผลผลิต 1. อสม. ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมถูกต้องหลังการอบรม ร้อยละ 100 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี  ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของปีที่ผ่านมา 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา