กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1.จัดกิจกรรมและสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ 1 ก.ค. 2561 2 ก.ย. 2561

 

ประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ใช้งบ ค่าแผ่นพับความรู้ เป็นเงิน 100บาท ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท ตั้งจุดประชาสัมพันธ์ที่ รพ.สต.นาโยงใต้

 

ผลผลิต แผ่นพับความรู้เรื่องนวดเท้าด้วยตนเอง จำนวน 100 แผ่น และป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ป้าย ผลลัพธ์ ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวาน

 

จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน 1 ก.ค. 2561 2 ก.ย. 2561

 

จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน สัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น ตรวจคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าด้วย Monofilament
วันที่ 2 กันยายน 2561 จำนวน 50คน พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะเสี่ยง จำนวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 7.5 จากการสัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้นและการตรวจเท้าคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าได้มีการแจ้งให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงอาการที่เป็นอยู่ทราบเพื่อการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

 

ผลผลิต มีผู้เข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น จำนวน 50 คน พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะเสี่ยง จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 7.5

ผลลัพธ์ ผู้ที่เข้ารับการคัดกรองความเสี่ยงและผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเป็นโรคเบาหวาน

 

จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย 2 ก.ค. 2561 2 ก.ย. 2561

 

กิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคนแช่เท้าลดอาการชาในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย เบื้องต้น โดย นางสาวตรีชฎา  หอมจันทร์ ตำแหน่งนักวิชาการแพทย์แผนไทย  เรื่อง การลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพร

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมการอบรม 50 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เรื่อง เรื่อง การลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพร