กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม อสม.ชุมชนหลาโป

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวานความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่จำเป็นที่ต้องได้รับการแก้ไขเนื่องจากเป็นโรคที่เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงถ้าเป็นในระยะเวลานาน และไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่มีการเฝ้าระวังที่ดีจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนเช่นไตวายต้อกระจกแผลเรื้อรังบางรายรุนแรงถึงขั้นต้องตัดอวัยวะส่วนปลายบางส่วนหรือบางรายอาจเป็นอัมพฤกษ์-อัมพาตนอนติดเตียงซึ่งเป็นภาระของญาติและครอบครัวทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ในการดูแล โรคหัวใจและหลอดเลือด จัดเป็นหนึ่งในโรคที่คุกคามชีวิตคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทยในปี 2552 สำนักงานสถิติแห่งชาติระบุว่า โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับสองในกลุ่มโรคไม่ติดต่อรองจากอุบัติเหตุโดยมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากถึง 4 ล้านกว่าคน และมีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างน่าตกใจ โรคหัวใจและหลอดเลือดคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตกโดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่าในทุก ๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรมเช่นการออกกำลังกายอาหาร การสูบบุหรี่ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพเช่นความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวานปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกันซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกัน จะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนหลาโปโดย อสม.พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องขาดการควบคุมอาหารและรับประทานยาไม่ต่อเนื่องซึ่งอาจส่งผลต่อเนื่องให้มีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้นตามมาจึงเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขอย่างมาก
ทางชุมชนหลาโป ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน จึงจัดทำโครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 ขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วย มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเห็นความสำคัญในการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตนเองมิให้เกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลตนเองได้
  2. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ในระดับหนึ่ง
  2. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนที่เข้ารับการอบรมไม่เกินร้อยละ10

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อสม. เก็บข้อมูลในชุมชน คัดกรองความเสี่ยงผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  และส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกันประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองโดยใช้โปรแกรม Thai CV Risk

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  ซึ่งจากการเก็บข้อมูลของ อสม.ในชุมชน  และส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด  โดยใช้โปรแกรม Thai CV risk score ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในอีก 10 ปีข้างหน้า  ซึ่งมีผู้ได้รับการคัดกรองจำนวน  72  คน  มีผลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด  ดังนี้ - เสี่ยงน้อย จำนวน  30  คน - เสี่ยงปานกลาง จำนวน  32  คน - เสี่ยงสูง จำนวน  10  คน

 

60 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน  จำนวน 60 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน  จำนวน 60 คน  ในเรื่องโรคหัวใจ/หลอดเลือดสมอง  การประเมินความเสี่ยงและการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจ/หลอดเลือดสมอง  อาหาร...ลดเสี่ยง  ลดโรค  พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  ยางยืด...พิชิตโรค เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนหลาโป มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  65 คน  โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  และศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง  มาให้ความรู้ดังกล่าว จากการดำเนินกิจกรรมทำให้ประชาชนที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสองในชุมชนได้รับความรู้ เกิดความเข้าใจในการดูแลตนเอง  และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ในระดับหนึ่ง
2.สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ  จำนวน  15,901  บาท  ดังนี้ กิจกรรมคัดกรองประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง - ค่าเอกสารแบบประเมิน  เป็นเงิน 300    บาท
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,600 บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม เป็นเงิน 3,600 บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 4,200 บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ผืน เป็นเงิน 900 บาท - ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,501 บาท - ค่าเช่าเต็นท์/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท หมายเหตุ  : ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนหลาโป ไม่ขอเบิกจ่ายเงินส่วนเกินจำนวน 1 บาท ขอเบิกจ่ายเพียง 15,900 บาทเท่านั้น

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนที่เข้ารับการอบรมไม่เกินร้อยละ10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลตนเองได้ (2) เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชนหลาโป ป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม อสม.ชุมชนหลาโป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด