กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความเข้าใจและเล็งเห็นความสำคัญของการฝากครรภ์และการคลอดที่สถานพยาบาล (2) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงมีครรภ์มีความรู้ และเข้าใจถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระหว่างการคลอด (3) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัจจัยเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 167 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปรับปรุงกระบวนการทำงานให้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา เช่น อสม. อปท. ครอบครัว ช่วยประชาสัมพันธ์ค้นหา หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด เสริมแรงด้วยวิธีการต่างๆ หรือให้กำกับหญิงวัยเจริญพันธุ์ในละแวก รับผิดชอบของตนเองหากมีครอบครัวและต้องการมีบุตร (2) เน้นย้ำให้หญิงตั้งครรภ์โทรแจ้งเจ้าหน้าที่ เพื่อนัดหมายการรับบริการใหม่ตามความเหมาะสมอาจไม่ตรงวันที่ให้บริการ ปกติได้หากหญิงตั้งครรภ์สะดวก

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. การมาฝากครรภ์ช้าเกิด 12 สัปดาห์
  2. การไม่มาฝากครรภ์ตามนัดจากหลายสาเหตุ เช่น ไม่มาฝากครรภ์เอง ติดงาน ไม่อยากขาดงาน หรืออาจย้ายที่อยู่ไม่ สามารถติดตามได้
  3. ขาดควาาเข้าใจเกี่ยวกับการคีย์ข้อมูลคีย์ข้อมูลไม่ทันเวลา
  4. คลอดเร็วกว่ากำหนด
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ