กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และเกิดความตระหนัก ตื่นตัว และให้ความสำคัญ ต่อการฝากครรภ์กับสถานพยาบาล ใกล้บ้านทันทีเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
  2. หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวตระหนักและเห็นความสำคัญของการคลอดในสถานพยาบาล
  3. ไม่มีมารดาตาย ทารกตายหรือตายปริกำเนิด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความเข้าใจและเล็งเห็นความสำคัญของการฝากครรภ์และการคลอดที่สถานพยาบาล
ตัวชี้วัด : ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐
167.00

 

2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงมีครรภ์มีความรู้ และเข้าใจถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระหว่างการคลอด
ตัวชี้วัด : ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐
167.00

 

3 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัจจัยเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐
167.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 167
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 167
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความเข้าใจและเล็งเห็นความสำคัญของการฝากครรภ์และการคลอดที่สถานพยาบาล (2) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงมีครรภ์มีความรู้ และเข้าใจถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระหว่างการคลอด (3) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัจจัยเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 167 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปรับปรุงกระบวนการทำงานให้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา เช่น อสม. อปท. ครอบครัว ช่วยประชาสัมพันธ์ค้นหา หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด เสริมแรงด้วยวิธีการต่างๆ หรือให้กำกับหญิงวัยเจริญพันธุ์ในละแวก รับผิดชอบของตนเองหากมีครอบครัวและต้องการมีบุตร (2) เน้นย้ำให้หญิงตั้งครรภ์โทรแจ้งเจ้าหน้าที่ เพื่อนัดหมายการรับบริการใหม่ตามความเหมาะสมอาจไม่ตรงวันที่ให้บริการ ปกติได้หากหญิงตั้งครรภ์สะดวก

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh