กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วเครือข่ายระดับตำบล ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1. ทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วเครือข่ายระดับตำบลได้รับการอบรมตามหลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล ร้อยละ 80 ข้อที่ 2 1) ครัวเรือนได้รับข่าวสารความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 50 2) จัดกิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ไตรมาสละ 1 ครั้ง ข้อที่ 3 1) อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ.2556-2560) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 2) โรงเรียนที่มีค่า CI=0 ร้อยละ 100 3) สถานศึกษาและศาสนสถานในพื้นที่ ได้รับการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอย 2 ครั้ง/ปี ร้อยละ 100 4) บ้านที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและครัวเรือนรัศมี 100 เมตร ได้รับการพ่น หมอกควันหรือละอองฝอย 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วเครือข่ายระดับตำบล ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ตำบล (2) 2. การสร้างความรู้ (3) การรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (4) 4. สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (5) การทำลายยุงลายตัวเต็มวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh