โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 ”
ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางนอรีดา มิดคาดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2984-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2984-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบมากที่สุดของมะเร็งในสตรีไทย พบได้ตั้งแต่วัยสาวอายุก่อน 30 ปี จนถึงวัยชราอายุ 80 ปี แต่จะพบมากในช่วงอายุ 35 – 50 ปีและพบรองลงมาคือโรคมะเร็งเต้านม ใน ปีหนึ่งๆพบว่ามีสตรีป่วยเป็นโรคนี้ทั่วโลก ทั้งที่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจพบได้ง่ายและสามารถป้องกันได้ สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น การมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย ต่ำกว่า 18 ปีการเปลี่ยนคู่นอนหลายคน กรรมพันธุ์ และวิถีการดำรงชีวิตในปัจจุบัน ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภค และโอกาสการเข้าถึงสถานบริการทางด้านสาธารณสุขเมื่อมีอาการของโรคโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมสามารถรักษาให้หายได้ ถ้าพบความผิดปกติในระยะเริ่มแรก โดยสตรีที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกๆเดือนและตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap smear3-5 ปี ต่อครั้ง ซึ่งได้มีการทำวิจัยแล้วว่าสามารถลดอัตราการเกิดและลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้
เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขต้องคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ได้ 80 % ภายในระยะเวลา 5 ปี(2558-2562) จากการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลป่าบอน ปี 2558คัดกรองได้ 15.54 %ปี 2559 คัดกรองได้ 21.30 % เป้าหมายคัดกรอง ปี 2560 คัดกรองให้ได้อีก 20 % (จำนวน 117 คน) แต่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักและไม่ให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองอีกมาก เพราะยังขาดความรู้ มีทัศนะคติที่ไม่ถูกต้องเช่นการอ้างว่าผิดหลักศาสนา ความอายต่อเจ้าหน้าที่ และด้วยบริบทพื้นที่ตำบลป่าบอนประชาชนกลุ่มเป้าหมายของตำบลป่าบอนส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ในการตรวจมะเร็ง ทำให้มีความอายเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจ กลัวเครื่องมืออุปกรณ์ในการตรวจจากปัญหาดังกล่าวศูนย์ส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าบอนเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช้างให้ตก ได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมและเมื่อตรวจพบโรคแล้วได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสมทันที เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
117
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
117
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- สตรีกลุ่มเป้าหมาย 20 % (117 คน) มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกและสามารถส่งต่อพบแพทย์ได้ทันที
- สามารถลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้
- อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลป่าบอนมีความรักความสามัคคีกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดซื้อโมเดลตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 3 ชุด
2.จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มอายุ 30 -60 ปี พร้อมทั้งแจกเอกสารแผ่นพับให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
3.ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ผู้ที่ประสงค์รับการตรวจ
4.ผู้ที่รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และมีผลการตรวจผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจรักษาที่ถูกต้องจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
234
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
117
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
117
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2984-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนอรีดา มิดคาดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 ”
ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางนอรีดา มิดคาดี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2984-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2984-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบมากที่สุดของมะเร็งในสตรีไทย พบได้ตั้งแต่วัยสาวอายุก่อน 30 ปี จนถึงวัยชราอายุ 80 ปี แต่จะพบมากในช่วงอายุ 35 – 50 ปีและพบรองลงมาคือโรคมะเร็งเต้านม ใน ปีหนึ่งๆพบว่ามีสตรีป่วยเป็นโรคนี้ทั่วโลก ทั้งที่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจพบได้ง่ายและสามารถป้องกันได้ สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น การมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย ต่ำกว่า 18 ปีการเปลี่ยนคู่นอนหลายคน กรรมพันธุ์ และวิถีการดำรงชีวิตในปัจจุบัน ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภค และโอกาสการเข้าถึงสถานบริการทางด้านสาธารณสุขเมื่อมีอาการของโรคโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมสามารถรักษาให้หายได้ ถ้าพบความผิดปกติในระยะเริ่มแรก โดยสตรีที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกๆเดือนและตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap smear3-5 ปี ต่อครั้ง ซึ่งได้มีการทำวิจัยแล้วว่าสามารถลดอัตราการเกิดและลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขต้องคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ได้ 80 % ภายในระยะเวลา 5 ปี(2558-2562) จากการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลป่าบอน ปี 2558คัดกรองได้ 15.54 %ปี 2559 คัดกรองได้ 21.30 % เป้าหมายคัดกรอง ปี 2560 คัดกรองให้ได้อีก 20 % (จำนวน 117 คน) แต่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักและไม่ให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองอีกมาก เพราะยังขาดความรู้ มีทัศนะคติที่ไม่ถูกต้องเช่นการอ้างว่าผิดหลักศาสนา ความอายต่อเจ้าหน้าที่ และด้วยบริบทพื้นที่ตำบลป่าบอนประชาชนกลุ่มเป้าหมายของตำบลป่าบอนส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ในการตรวจมะเร็ง ทำให้มีความอายเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจ กลัวเครื่องมืออุปกรณ์ในการตรวจจากปัญหาดังกล่าวศูนย์ส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าบอนเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช้างให้ตก ได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมและเมื่อตรวจพบโรคแล้วได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสมทันที เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 117 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 117 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- สตรีกลุ่มเป้าหมาย 20 % (117 คน) มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกและสามารถส่งต่อพบแพทย์ได้ทันที
- สามารถลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้
- อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลป่าบอนมีความรักความสามัคคีกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดซื้อโมเดลตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 3 ชุด 2.จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มอายุ 30 -60 ปี พร้อมทั้งแจกเอกสารแผ่นพับให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 3.ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ผู้ที่ประสงค์รับการตรวจ 4.ผู้ที่รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และมีผลการตรวจผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจรักษาที่ถูกต้องจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 234 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 117 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 117 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีตำบลป่าบอนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีตำบลป่าบอน มีสุขภาพดี ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2984-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนอรีดา มิดคาดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......