กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ขึ้นไป
80.00 82.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัยเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการกระตุ้นให้ใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ขึ้นไป
80.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
80.00 90.00

 

4 เพื่อตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเข้มและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองด้านสุขภาพอย่างเข้ม ร้อยละ 80 ขึ้นไป
80.00 100.00

 

5 เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยการค้นหาหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูกให้ครอบครัวอื่นๆ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูก ร้อยละ 80 ขึ้นไป
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 76 76
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 7 7
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัยเหมาะสม (3) เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) เพื่อตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเข้มและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย (5) เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยการค้นหาหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูกให้ครอบครัวอื่นๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านการดูแลและคัดกรองสุขภาพในเด็ก (2) ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่เด็กปฐมวัย ครู และผู้ประกอบอาหาร  (3) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh