กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อตรวจคัดกรองและสัมภาษณ์แยกประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยตรวจคัดกรองในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสุขภาพส่งเสริมและให้ความรู้ (SHG) ในกลุ่มที่เสี่ยงของโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงทุก ๆ 1 เดือน 3เดือน และ6เดือน ประเมินสุขภาพเป็นระยะ 2.เพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap Smear แก่สตรีอายุ30-60ปี 3.เพื่อประเมินการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและสาธิตการตรวจแก่สตรีอายุ 30-70 ปีขึ้นไป 4.เพื่อให้ผู้ได้รับการตรวจและมีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อ และดูแลอย่างถูกต้องตั้งแต่เริ่มแรก 5.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันและดูแลตนเองโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : 1.ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหงานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยทุกคนจำนวน 2,375 คน 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการติดตาม เดือนที่ 1,3และ 6เดือน 3.ตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยเจ้าหน้าที่แก่สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 60 คน 4.ให้ความรู้และสาธิตเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30-70 ปีขึ้นไป จำนวน1,484 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2664
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,218
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,124
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 69
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 103
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อตรวจคัดกรองและสัมภาษณ์แยกประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยตรวจคัดกรองในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสุขภาพส่งเสริมและให้ความรู้ (SHG) ในกลุ่มที่เสี่ยงของโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงทุก ๆ 1 เดือน 3เดือน และ6เดือน ประเมินสุขภาพเป็นระยะ 2.เพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap Smear แก่สตรีอายุ30-60ปี 3.เพื่อประเมินการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและสาธิตการตรวจแก่สตรีอายุ 30-70 ปีขึ้นไป 4.เพื่อให้ผู้ได้รับการตรวจและมีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อ และดูแลอย่างถูกต้องตั้งแต่เริ่มแรก 5.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันและดูแลตนเองโรคไม่ติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป(ที่ยังไม่ป่วย) (2) กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องและตรวจโดยเจ้าหน้าที่  (4) กิจกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยเจ้าหน้าที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh