กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ (รุ่นที่ 1) 18 ก.ย. 2561 18 ก.ย. 2561

 

1.จัดอบรมผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ
2.ประสานงานกับ อสม.แต่ละหมู่ ชั่งน้ำหนักเด็ก ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ทุกๆ 3 เดือน 3.ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน ทุก 1 เดือน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ 4.ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่ตกเกณฑ์มาตรฐานของภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี 5.ประเมินผล

 

  • ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับความรู้และเข้าใจ ตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ส่งผลให้เด็กที่อยู่ในภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ลดลง สามารถเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานอายุ น้ำหนัก ส่วนสูงและมีพัฒนาการที่สมวัย

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ (รุ่นที่ 2) 21 ก.ย. 2561 21 ก.ย. 2561

 

1.จัดอบรมผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ
2.ประสานงานกับ อสม.แต่ละหมู่ ชั่งน้ำหนักเด็ก ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ทุกๆ 3 เดือน 3.ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน ทุก 1 เดือน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ 4.ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่ตกเกณฑ์มาตรฐานของภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี 5.ประเมินผล

 

  • ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับความรู้และเข้าใจ ตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ส่งผลให้เด็กที่อยู่ในภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ลดลง สามารถเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานอายุ น้ำหนัก ส่วนสูงและมีพัฒนาการที่สมวัย

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ (รุ่นที่ 3) 27 ก.ย. 2561 27 ก.ย. 2561

 

1.จัดอบรมผู้ปกครอง เด็กอายุ 0-6 ปี และอาสาโภชนาการ
2.ประสานงานกับ อสม.แต่ละหมู่ ชั่งน้ำหนักเด็ก ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ทุกๆ 3 เดือน 3.ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน ทุก 1 เดือน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ 4.ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่ตกเกณฑ์มาตรฐานของภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี 5.ประเมินผล

 

  • ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับความรู้และเข้าใจ ตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ส่งผลให้เด็กที่อยู่ในภาวะทุพโภชนาการและภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ลดลง สามารถเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานอายุ น้ำหนัก ส่วนสูงและมีพัฒนาการที่สมวัย