กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลงานดำเนินงานหลังการใช้กระบวนจราจร 7 สีมาช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย  ดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  78 คน  จากจำนวน 98 คน 79.59 % ( 20 คน เนื่องจากไปทำงานนอกพื้นที่กลับมาบ้านไม่แน่นอนจึงไม่ได้เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน)
- กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงเข้าร่วม18 คน  ปรับเปลี่ยนได้ 4 คน ดังนี้ - กลุ่มปกติสามารถดูแลตัวเองได้ดี จำนวน 29 คน ร้อยละ 36.25
- สีเขียวคุมได้เป็นปกติสีขาว 2 คน
- สีแดง เป็นสีส้ม  2 คน - สีเหลืองเป็นสีเขียว(คุมได้)  1  คน - กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง25 คน เปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีขาวปกติ  3 คน -  กลุ่มป่วยเบาหวานจำนวน 1 คนเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีเหลือง    1 คน -  กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนคุมน้ำตาลเป็นสีขาว  1 คน -กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถคุมได้จากสีเหลืองเป็นสีส้ม  1 คน

หมายเหตุ  ทุกกลุ่มยังมีการดูแลปรับเปลี่ยนสู่วิถีชีวิตดั่งเดิมอย่างต่อเนื่องเพื่อลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน


    1.1 สรุปผลการดำเนิน มีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานดังนี้
แผนการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทยลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

วัน เดือน ปี กิจกรรม 21 เมษายน 2560 28 เมษายน 2560

23 มิถุนายน 2560

25 สิงหาคม 2560 20 ตุลาคม 2560 ป1.จัดทำเวทีประชาคมร่วมกับภาคีเครือข่าย 2.คัดกรองภาวะเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการพร้อมแยกกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยในการเฝ้าระวังและดูแลในปิงปองจราจร 7 สี 3.ให้ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 ครั้ง

4.ติดตามผลการปรับเปลี่ยน 5.สรุปผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินโครงการ


  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด     2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์
        2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม .....................78.................................... คน

  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 20,000 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง     20,000 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ 0

  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค ๑. การดำเนินงานที่ต้องประสานงานปรับเปลี่ยนช่วงเวลาในการดำเนินงาน  ให้เหมาะสมเพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย แต่ก็อยู่ในวิสัยที่ควบคุมได้. ๒. กลุ่มเป้าหมายบางส่วนอยู่ในวัยทำงานและออกไปทำงานนอกพื้นที่
  4. กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุบางราย มีปัญหาการเคลื่อนไหวทางกาย และขาดผู้นำเข้าร่วม กิจกรรม ข้อเสนอแนะ ๑. การขยายโอกาสสู่กลุ่มเสี่ยงอื่นๆ นอกเหนือจากกลุ่มที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและ
    เบาหวาน อาทิ  กลุ่มที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์    กลุ่มโรคหัวใจ หลอดเลือด           2.  การได้รับการสนับสนุน ในการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง
              3. ควรมีการจัดทำปิงปองจราจร 7 สีเข้ามาช่วยในการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทุกหมู่บ้าน    เพื่อให้ประชาชนรับรู้และตระหนักถึงสภาวะสุขภาพของตนเองได้อย่างยั้งยืนซึ่งขอเป็นโอกาสพัฒนาต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและ จัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและ จัดกลุ่มเฝ้าระวังในปิงปองจราจร ๗ สี (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วยมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ เหมาะสมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนของคณะกรรมการภาคีเครือข่ายของกองทุนสุขภาพ อบต.ตุยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh