กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยาให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2 ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้ามีความตระหนักเกี่ยวกับโรคชิคุนกุนยาและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง  เหมาะสมในการ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคชิคุนกุนยา 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคชิคุนกุนยา 4 ประชาชนสามารถทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน ชุมชน มัสยิด โรงเรียนให้น้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีการกำจัดแหล่งเพาะพัน์ยุงลายในชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
1.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคชิคุนกุนยา
ตัวชี้วัด : 2. อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนลดลงร้อยละ 80
1.00

 

3 ข้อที่3. เพื่อสร้างกระแสความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคชิคุนกุนย่า
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงเพิ่มขึ้น
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

จากสถานการณ์ในปัจจุบัน พบว่า มีผู้ป่วยโรคชิกุนกกุนย่าเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โรคจะมีการระบาดปีเว้นปี เนื่องจากชุมชนในปัจจุบันได้มีการขยายตัวมากขึ้น แต่ไม่มีการวางแผนควบคุมแมลงนำโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงส่งผลให้เกิดการแพร่พันธุ์ของยุงลายที่เป็นพาหะโรคชิคุนกุนยา ซึ่งโรคนี้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสายพันธุ์อยู่ตลอดเวลา จากอดีตที่ผ่านมาการระบาดของและโรคชิคุนกุนยามักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน แต่ปัจจุบันพบว่าโรคชิคุนกุนยาสามารถเกิดได้ทุกฤดูกาล และนโยบายการพัฒนาบริการสาธารณสุขได้เปลี่ยนจากเชิงรับมาเน้นการให้บริการในเชิงรุกเพื่อส่งเสริมให้องค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกันสุขภาพของตนเองมากขึ้นขณะเดียวกันโรคชิคุนกุนยาเป็นโรคที่ป้องกันได้หากประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคที่ถูกต้อง การสร้างพฤติกรรมการป้องกันโรคและปลูกจิตสำนึกในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาให้ได้ผลดีนั้น จำเป็นที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนั้นอาสาสมัครชุมชนบ้านนาจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้เกิดความตะหนักและร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันไม่ไห้ยุงกัดโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (2) ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคชิคุนกุนยา (3) ข้อที่3. เพื่อสร้างกระแสความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคชิคุนกุนย่า วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน

ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคชิคุนกุนยา ข้อที่ 3. เพื่อสร้างกระแสความตระหนักในการป้องกันและคผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยาให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2 ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้ามีความตระหนักเกี่ยวกับโรคชิคุนกุนยาและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง  เหมาะสมในการ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคชิคุนกุนยา 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคชิคุนกุนยา 4 ประชาชนสามารถทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน ชุมชน มัสยิด โรงเรียนให้น้อยลง วบคุมโรคชุคุนกุนย่า

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh