กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นให้มีคุณภาพ นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในท้องถิ่นจะต้องมีความพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ดังนั้น การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการกีฬา ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นสื่อการพัฒนาคนในชุมชนให้สามารถมีส่วนร่วม และส่งผลดีต่อการดำเนินนโยบายในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ การกีฬาสร้างความมีน้ำใจและความสามัคคีให้เกิดขึ้นในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี การส่งเสริมกีฬา ไม่ได้เป็นเรื่องระดับท้องถิ่นเท่านั้น แต่ถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาล ให้ความสำคัญรวมถึงรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้แถลงนโยบายในด้านการยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข    และสุขภาพของประชาชน ส่งเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ ใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาลักษณะนิสัยเยาวชนให้มีน้ำใจนักกีฬา มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท และมีความสามัคคีอีกทั้งพัฒนานักกีฬาให้มีศักยภาพสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติจนสร้างชื่อเสียงแก่ประเทศชาติและสอดคล้องกับแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน โดยการจัดการทุนมนุษย์ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ รวมถึงการบูรณาการหลาย ๆ ด้านเพื่อให้สังคมอยู่รวมกันอย่างมีความสุข ชมรมส่งเสริมการออกกำลังกาย ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมกีฬาในเยาวชน เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด และนำนโยบายเทศบาล มาปฏิบัติในระดับชุมชน ด้านการส่งเสริมกีฬา เพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเพื่อชุมชน ชมรมส่งเสริมการออกกำลังกาย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ   1. เด็กและเยาวชนในท้องที่เทศบาลได้มีส่วนร่วมในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง   2. เด็กและเยาวชนให้ความสนใจในการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างมีคุณค่าและห่างไกลยาเสพติด   3. เกิดความรักและสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย โดยใช้กีฬาเป็นสื่อให้เกิดความใกล้ชิด สนิทสนม และความเป็นกันเอง   4. เด็กและเยาวชนเกิดการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถ ด้านการกีฬาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น   5. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมตามนโยบายของรัฐบาลและสามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ