กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. เด็กก่อนวัยเรียนมีอนามัยช่องปากที่ดีไม่เป็นปัญหา   2. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน   3. ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน   4. ผู้ปกครองและคุณครูผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองสามารถเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย ร้อยละ 60
1.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพช่องปาก และแปรงฟันเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองดูแลสุขภาพช่องปาก และแปรงฟันเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 70
1.00 81.00

 

3 3. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง และมีฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : เด็กมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง และปัญหาฟันผุของเด็กลดลงร้อยละ 10
1.00 81.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 81 81
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อแก้ปัญหาเด็กนักเรียนให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 2. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็กก่อนวัยเรียน  3. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมทันตสุขภาพ 4. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ผลการดำเนินงาน  1. เด็กก่อนวัยเรียนมีอนามัยช่องปากที่ดีไม่เป็นปัญหา   2. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน   3. ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน   4. ผู้ปกครองและคุณครูผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh