กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ


“ อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5 ”

ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสากีน๊ะ สะแม

ชื่อโครงการ อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5

ที่อยู่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-LNK-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กันยายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-LNK-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กันยายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรมการก้าวเข้าสู่ทศวรรษใหม่ "ทศวรรษแห่งนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐาน" ของประเทศไทยที่ยังคงยืนยันการพัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและต้องการเห็นประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา การพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษใหม่จะรวมกระบวนการพัฒนาสุขภาพอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีหัวใจของความสำเร็จอยู่ที่การพัฒนาคนให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยเหตุผล มีสติ รู้จักคิด มีวิธีคิดที่ถูกต้องเพื่อการตัดสินใจบนพื้นฐานที่ถูกต้องเพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ ดังนั้นในการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขมูลฐาน ในรูปลักษณ์ใหม่ที่สร้างความสมดุลระหว่างรูปแบบการให้บริการกับรูปแบบการพัฒนาที่ต้องอาศัยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นกระบวนการหรือตัวกลางที่จะนำไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ ประชาชนแสดงบทบาท จึงต้องมีการรับบทบาท อสม.จากบริการไปสู่การพัฒนาเพื่อสังคม อสม.ต้องเป็นผู้มีจุดหมายปลายทางในการทำงาน และมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการบริหารนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับพื้นที่ เป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งของตนเองและสร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน ทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการเฝ้าระวังสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วย และสามารถรายงานเฝ้าระวังสงสัยในชุมชนได้ดีและเป็นผู้นำในการดูแลสภาวะแวดล้อมและรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน และภาวะแวดล้อมของสังคม เตรียมและริเริ่มมาตรการทางสังคมใหม่ ที่จะมีผลต่อการขจัดหรือลดปัญหาทางสุขภาพ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน สร้างจิตสำนึกประชาชนในการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพและสร้างโอกาสให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกตุ จึงจัดทำโครงการอบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5 โดยใช้รูปแบบการอบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับออกให้บริการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ การติดตามตรวจสุขภาพประชาชนเชิงรุก ส่งผลให้เกิดการช่วยกันดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค
  2. อสม.และจิตอาสาบ้านบาโงฆาดิง มีเครื่องมือคัดกรองความเสี่ยงใช้ในการปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน
  3. อาสาสมัครและจิตอาสาออกปฏิบัติการคัดกรองภาวะเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันสุขภาพ ป้องกันโรคเบื้องต้นให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 1 วัน
  2. ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักและเครื่องวัดความดัน
  3. อาสาสมัครสาธารณสุข/จิตอาสา ออกคัดกรองภาวะเสี่ยงประชาชนในหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคสามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชนเกิดความรักและความสามัคคีขึ้นในชุมชน
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขและจิตอาสาบ้านบาโงฆาดิง มีเครื่องมือในการให้บริการสุขภาพ การดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สามารถติดตามพฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนได้ และเจตคติที่ดีในการให้บริการอย่างมีคุณภาพ
  3. สามารถให้บริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพเบื้องต้นให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นเครื่องมือหนึ่งในการดูแลสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้านต่อไป
  4. ประชาชนในหมู่บ้านมีสุขภาพที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนจำนวน 60 คน ได้รับความรู้ในการดูแลตนเองป้องกันโรค
0.00

 

2 อสม.และจิตอาสาบ้านบาโงฆาดิง มีเครื่องมือคัดกรองความเสี่ยงใช้ในการปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : มีวัสดุ อุปกรณ์คัดกรองความเสี่ยง ได้แก่ ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักเด็ก 1 เครื่อง ซื้อเครื่องวัดความดัน 1 เครื่อง
0.00

 

3 อาสาสมัครและจิตอาสาออกปฏิบัติการคัดกรองภาวะเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครและจิตอาสา จำนวน 7 คน ออกปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค (2) อสม.และจิตอาสาบ้านบาโงฆาดิง มีเครื่องมือคัดกรองความเสี่ยงใช้ในการปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน (3) อาสาสมัครและจิตอาสาออกปฏิบัติการคัดกรองภาวะเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันสุขภาพ ป้องกันโรคเบื้องต้นให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 1 วัน (2) ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักและเครื่องวัดความดัน  (3) อาสาสมัครสาธารณสุข/จิตอาสา ออกคัดกรองภาวะเสี่ยงประชาชนในหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมป้องกันโรคปฏิบัติการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัยของจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านบาโงฆาดิง หมู่ที่ 5 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-LNK-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสากีน๊ะ สะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด